กนง.ปรับเพิ่มดอกเบี้ยนโยบาย +0.25% สู่ 2.5% เป็นไปตามคาด คณะกรรมการกนง.มีมติเอกฉันท์ปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีก +0.25% สู่ 2.5% โดยแม้เศรษฐกิจระยะสั้นอาจชะลอ แต่กนง.ให้น้ำหนักกับการส่งออกที่จะดีขึ้น และการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง
รวมถึงการที่อาจจะมีแรงส่งจากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐ โดยคาด GDP ปี 2566-67 ที่ 2.8% และ 4.4% ตามลำดับ แม้กนง.ปรับลดคาดการณ์นักท่องเที่ยวต่างชาติปี 2566-67 ลงเล็กน้อย 28.
อย่างไรก็ตามในระยะสั้น ตลาดอาจถูกถ่วงจากแรงทำกำไร ทำให้ในเชิงกลยุทธ์ต้องเน้นหุ้นที่มีความเสี่ยงปรับประมาณการกำไรต่ำ หรือมีแนวโน้มกำไรช่วงครึ่งปีหลัง หรือในระยะยาวที่แข็งแรง อาทิ การแพทย์ สื่อสารรวมถึงอาจมองหุ้นที่ได้ประโยชน์จากเงินบาทที่มีโอกาสอ่อนค่าในระยะกลาง-ยาว ทั้งกลุ่มได้ประโยชน์ทางตรง อาทิ อิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร/เกษตร และกลุ่มได้ประโยชน์ทางอ้อม เช่น การแพทย์และท่องเที่ยวยังเน้นเก็งกำไรแบบกำหนดจุดตัดขาดทุน ส่วนต่างดอกเบี้ยนโยบายไทย-สหรัฐฯ ที่กว้าง...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
วิเคราะห์แนวโน้มตลาด : บล.ยูโอบี เคย์ เฮียนฯ กนง.ขึ้นดอกเบี้ยก็ลบ ไม่ขึ้นก็บาทอ่อนแรงส่งออกส.ค.เริ่มมีสัญญาณบวกแต่ยังน่ากังวลจากนำเข้าที่หดตัวแรง ตัวเลขส่งออก ส.ค. กลับมาเติบโต +2.6% YoY ขณะที่นำเข้า -12.8% โดยสินค้าเกษตรขยายตัว +4.2% / อุตสาหกรรมเกษตร -7.6% / สินค้าอุตสาหกรรม +2.5%
อ่านเพิ่มเติม »
วิเคราะห์แนวโน้มตลาด : บล.โกลเบล็ก จับตาประชุม กนง.วันอังคารที่ผ่านมา ดัชนีปรับตัวลงโดยมีแรงขายจากกลุ่มธนาคาร ได้แก่ KBANK SCB และ BBL ส่งผลให้ดัชนี SET หลุดแนวรับสำคัญบริเวณ 1,500 จุด โดยนักลงทุนจับตา การประชุมกนง. ในวันนี้
อ่านเพิ่มเติม »
วิเคราะห์แนวโน้มตลาด : บล.กรุงไทย เอ็กซ์สปริง คาดเดือน ส.ค. ขาดดุลการค้าต่อเนื่องทางเทคนิค คาด SET Index อ่อนตัว แนวรับ 1,503/1,488 จุด แนวต้าน 1,520/1,525 จุด (EMA 10 วัน) อิงรูปแบบดัชนีฯ ระยะสั้น อยู่ในทิศทางขาลง โดยมีสัญญาณยืนยันจากการไม่สามารถทะลุผ่านเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 10 วัน ที่ 1,525 จุด ขึ้นไปได้
อ่านเพิ่มเติม »
วิเคราะห์แนวโน้มตลาด : บล.กรุงไทย เอ็กซ์สปริง ลุ้นผลประชุมกนง. (ดอกเบี้ยนโยบายและเป้าเติบโต 2023E GDP)ทางเทคนิค คาด SET Index อ่อนตัว แนวรับ 1,487/1,480 จุด แนวต้าน 1,503/1,510 จุด อิงรูปแบบดัชนีฯ เลือกที่จะปรับลดลงไปทดสอบแนวรับเดิม 1,487/1,461 จุดตามลำดับ หลังจากวานนี้หลุดทะลุแนวรับสำคัญ 1,503 จุด ทำให้โอกาสของการรีบาวนด์รูปแบบขาขึ้น Double Bottom ที่บริเวณ 1,503 จุด หมดไป
อ่านเพิ่มเติม »