ใครหลายคนคงจะเคยได้ยินว่า “โรคพาร์กินสัน” นั้นเป็นโรคเสื่อมของระบบประสาท ซึ่งตามสถิติแล้วมักพบในผู้สูงวัย ที่มีอายุเฉลี่ย 60-65 ปี โดยในคนไทยมีโอกาสเป็นพาร์กินสัน 1-1.5 แสนคน และในปัจจุบันพบว่ามีแนวโน้มผู้ป่วยด้วยโรคนี้สูงขึ้น
เพื่อลดปัญหาการตอบสนองต่อยาที่ไม่สม่ำเสมอ ผ่านการปลดปล่อยยาอย่างต่อเนื่องด้วยปั๊ม ประกอบด้วยยา 2 ชนิด คือ ยา Apomorphine และยา Levodopa-carbidopa intestinal gelการผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก คือการรักษาด้วยการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการตอบสนองต่อยาที่ไม่สม่ำเสมอ หรือมีอาการสั่นรุนแรง
ไม่ว่าจะเป็นการรักษาแบบใดก็ตาม จะขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โดย โรงพยาบาลพญาไท 2 มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา-โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ ซึ่งได้ศึกษาด้านการรักษาโรคพาร์กินสันด้วยการใช้หัตถการร่วมรักษา ทั้งการให้ยาต่อเนื่องและการผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึกมาเป็นอย่างดี จึงมีความพร้อมในการให้คำแนะนำกับผู้ป่วยทุกคน
แม้ว่าโรคพาร์กินสันจะรักษาให้หายขาดไม่ได้ แต่เป้าหมายสำคัญกว่านั้นคือ การทำให้ผู้ป่วยกลับคืนมาสู่สภาพชีวิตที่ดีและใกล้เคียงกับคนปกติให้ได้มากที่สุด สามารถเข้าสังคมและช่วยเหลือตัวเองได้ เหนือสิ่งอื่นใด…ความสุขทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่เราจะละเลยไม่ได้จริงๆ
บทความโดย ผศ.พญ.ดร. อรอนงค์ โพธิ์แก้ววรางกูล อายุรแพทย์ระบบประสาทและสมอง ศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลพญาไท 2
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
หญิงวัย 60 ปี เพิ่งรู้แม่ยังมีชีวิต หลังไปทำบัตร ปชช. หวังได้พบหน้าสักครั้งหญิงวัย 60 ปี ไร้บัตรเพราะไม่ได้แจ้งเกิด เพิ่งรู้แม่วัย 87 ปี ยังมีชีวิตอยู่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ หลังมาวิ่งเต้นทำบัตรประชาชน ร่ำไห้อยากเห็นหน้า เพราะพลัดพรากมานาน 47 ปี
อ่านเพิ่มเติม »
'โรคพาร์กินสัน' ผู้ป่วยควรกินอะไร และควรเลี่ยงอาหารชนิดใดบ้าง?“พาร์กินสัน” โรคทางสมองที่ส่งผลให้การเคลื่อนไหวของผู้ป่วยผิดปกติ ทำให้การใช้ชีวิตของผู้ป่วยโรคพาร์กินสันเป็นไปอย่างยากลำบาก ต้องอาศัยความเข้าใจและการดูแลจากคนรอบข้างเป็นหลัก เนื่อง
อ่านเพิ่มเติม »
โรคพาร์กินสัน: 10 สัญญานเตือนอาการสั่นที่ไม่ควรมองข้ามโรคพาร์กินสัน (Parkinson's Disease) เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทที่ส่งผลให้เกิดอาการสั่นในร่างกาย 10 สัญญานเตือนอาการสั่นที่ไม่ควรมองข้ามได้แก่ 1) อาการสั่นบริเวณข้อมือ นิ้ว คาง เป็นต้น 2) การรับรสและกลิ่นผิดปกติ และอื่นๆ
อ่านเพิ่มเติม »
สถานการณ์แรงงานไทยไตรมาส 2/66 ผู้มีงานทำ 39.7 ล้านคน พุ่ง 6.6 แสนคนสำนักงานสถิติแห่งชาติ รายงานสถานการณ์แรงงานไทยไตรมาส 2/66 ผู้มีงานทำ 39.7 ล้านคน เพิ่มขึ้น 6.6 แสนคน จากช่วงเดียวกันปี 65 ส่วน ผู้ว่างงานเฉลี่ย 4.3 แสนคน คิดเป็นอัตราการว่างงาน 1.1% ลดลงจาก 1.4% ในช่วงเดียวกันปี 65
อ่านเพิ่มเติม »