รู้จัก “บัตรเหมาจ่าย” ขสมก.-รถไฟฟ้าสายสีแดง ราคาเดียว 2,000 บาท/เดือน PPTVHD36 ช่อง36 บัตรเหมาจ่าย การรถไฟแห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ รถไฟฟ้าสายสีแดง ขสมก รฟท
2. เริ่มจำหน่าย 29 มี.ค. 2566 เป็นต้นไปบัตรเหมาจ่าย ใช้อย่างไร
รถไฟฟ้าสายสีแดงสามารถนั่งได้ถึง 50 เที่ยวหรือ 30 วัน ต่อเดือน เช่นเดียวกัน รถเมล์ ขสมก. ก็สามารถนั่งได้แบบไม่จำกัดตลอด 30 วัน โดยระบบชำระค่าโดยสารแบบบัตรเหมาจ่าย โดยเริ่มและทดลองใช้บริการผ่านระบบ EMV Contactless ซึ่งผู้โดยสารสามารถเดินทางโดยใช้บัตรเหมาจ่ายในการเดินทางระหว่างรถไฟฟ้าสายสีแดง และรถเมล์ ขสมก.ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ได้แบบไม่จำกัดเที่ยว
บัตรใบนี้มีมูลค่าต่อเดือน จำนวน 2,000 บาท ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของพี่น้องประชาชนได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันรถไฟฟ้าสายสีแดงมีผู้โดยสารกว่า 20,000 คนต่อวัน และรถเมลล์ ขสมก. มีผู้โดยสารกว่า 7 แสนคนต่อวัน ที่ผ่านมาธนาคารกรุงไทยได้ร่วมกับ ผู้ให้บริการขนส่งมวลชน ทั้งทางด่วน รถไฟฟ้าสายสีต่างๆ รวมถึงรถโดยสาร เพื่อเป็นการพัฒนาโครงการระบบชำระค่าโดยสารให้ครอบคลุมในอนาคตต่อไป ที่สถานีกรุงเทพอภิวัฒน์นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง บอกว่า ในอนาคตมีแผน เชื่อมต่อบัตรเหมาจ่ายกับระบบขนส่งอื่น ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของประชาชน หากประชาชนต้องการมากขึ้น ก็จะมีการไปเชื่อมต่อกับระบบรถไฟฟ้า เช่น สายสีน้ำเงิน สายสีม่วงที่มีระบบร่วมกันอยู่แล้ว ด้านเทคนิคและความเป็นไปได้สามารถเชื่อมต่อได้ทันที...
อย่างไรก็ตาม หากใครที่ใช้บริการต่อเนื่องกันทั้งขึ้นรถไฟฟ้าสายสีแดง และรถเมล์ จะถือว่ามีความคุ้มค่า ราคาเฉลี่ยต่อเที่ยวถูกกว่าการแยกจ่ายแยกอย่างแน่นอน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
รฟท. ขสมก. กรุงไทย ผนึกกำลังออกตั๋วร่วม 'บัตรเหมาจ่าย' ชำระค่ารถไฟฟ้าสีแดง-รถเมล์ไร้รอยต่อ : อินโฟเควสท์การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) และธนาคารกรุงไทย ร่วมผลักดัน “บัตรเหมาจ่าย” เพื่อชำระค่าโดยสารรถไฟฟ้าสายสีแดง และรถโดยสาร ขสมก. ด้วยบัตรเดียว ราคาเดียว 2,000 บาทต่อเดือน ยกระดับคุณภาพบริการ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทาง สำหรับการพัฒนาระบบชำระค่าโดยสารแบบบัตรเหมาจ่ายเป็นการเริ่มและทดลองใช้บริการผ่านระบบ EMV Contactless ซึ่งผู้โดยสารสามารถเดินทางโดยใช้บัตรเหมาจ่ายในการเดินทางระหว่างรถไฟฟ้าสายสีแดง และรถเมล์ ขสมก.ได้อย่างไม่มีขอบเขต โดยรถไฟฟ้าสายสีแดงสามารถนั่งได้ถึง 50 เที่ยวหรือ 30 วันต่อเดือน เช่นเดียวกัน รถเมล์ ขสมก.ก็สามารถนั่งได้แบบไม่จำกัดตลอด 30 วัน บัตรใบนี้มีมูลค่าต่อเดือน 2,000 บาท ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของประชาชนได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันรถไฟฟ้าสายสีแดงมีผู้โดยสารกว่า 20,000คนต่อวัน และรถเมลล์ ขสมก. มีผู้โดยสารกว่า 7 แสนคนต่อวัน สำหรับการพัฒนาระบบชำระค่าโดยสารแบบบัตรเหมาจ่ายได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก รฟท.และ ขสมก.ริเริ่มและทดลองใช้บริการผ่านระบบ EMV Contactless ซึ่งผู้โดยสารสามารถใช้บัตรเหมาจ่ายชำระค่าโดยสารในการเดินทางระหว่างรถไฟฟ้าสายสีแดง และรถโดยสาร ขสมก. ได้อย่างไร้รอยต่อ โดยรถไฟฟ้าสายสีแดงสามารถใช้บริการได้ 50 เที่ยว […]
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดตัวบัตรเหมาจ่าย 2,000บาท/30วัน ขึ้นรถไฟฟ้าสีแดง 50เที่ยว รถเมล์ขสมก.ไม่จำกัด ค่าออกบัตร 100บ.เปิดตัวบัตรเหมาจ่าย 2,000บาท/30วัน ขึ้นรถไฟฟ้าสีแดง 50เที่ยว รถเมล์ขสมก.ไม่จำกัด ค่าออกบัตร 100บ. via MatichonOnline มติชนออนไลน์ บัตรเหมาจ่าย
อ่านเพิ่มเติม »
เตือนประชาชนจ่ายใบสั่งค้างชำระก่อนต่อภาษีรถยนต์ประจำปีรองโฆษกนายกเตือนประชาชนที่มีใบสั่งค้างชำระตั้งแต่ 1 เม.ย. 66 รีบจ่ายก่อนไปต่อภาษีรถยนต์ประจำปี ชี้ขับรถไม่มีป้ายภาษีโดนปรับไม่เกิน 2,000 บาท พร้อมถูกหักคะแนนความประพฤติการขับรถ
อ่านเพิ่มเติม »
ตำรวจเตือนเพิ่มโทษ 'ใบสั่งค้างชำระ' เริ่ม 1 เม.ย.นี้โฆษก ตร. เตือนประชาชน ตั้งแต่ 1 เม.ย.66 ผู้ขับขี่ที่มีใบสั่งค้างชำระ ต้องชำระค่าปรับ หากเพิกเฉย ต่อภาษีรถยนต์ประจำปี ได้ใบแทนภาษีชั่วคราวใช้ได้ 30 วัน หากเพิกเฉยพ้นกำหนดอีก มีโทษเพิ่ม ขับรถไม่แสดงแผ่นป้ายเสียภาษี ปรับไม่เกิน 2,000 บาท และตัด 1 คะแนน
อ่านเพิ่มเติม »
ดีเดย์ 1 เม.ย.นี้ ใบสั่งค้างชำระเพิกเฉยถูกตัดแต้ม-ปรับ 2,000 บาทเตือนผู้ขับขี่ที่มีใบสั่งค้างชำระ ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย.นี้ ต้องชำระค่าปรับ หากเพิกเฉยต่อภาษีรถยนต์ประจำปีได้ใบแทนภาษีชั่วคราวใช้ได้ 30 วัน หากพ้น 30 วัน จะต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท พร้อมตัดแต้มความประพฤติในการขับรถ
อ่านเพิ่มเติม »
ตร. เตือน 1 เม.ย.66 มีใบสั่งค้างชำระ ต้องจ่ายค่าปรับ เพิกเฉย รับโทษเพิ่มโฆษก ตร. เตือน 1 เม.ย.66 ผู้ขับขี่มีใบสั่งค้างชำระ ต้องชำระค่าปรับ เพิกเฉย มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตัด 1 คะแนน อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »