รัฐ-เอกชนจัดทัพถกลาวเชื่อมต่อทางรถไฟหนองคาย-เวียงจันทน์ นายศักดิ์สยามชิดชอบ โครงการเชื่อมต่อทางรถไฟ รถไฟ ลาว หนองคายเวียงจันทน์ สะพานข้ามแม่น้ำโขง คมนาคม TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE TNNWEALTH
เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงภาคเอกชน อาทิ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้า และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เดินทางเยือน สปป.ลาว เพื่อหารือเกี่ยวกับโครงการเชื่อมต่อทางรถไฟ ช่วงหนองคาย-เวียงจันทน์ พร้อมทั้งนั่งรถไฟลาว- โดยมีผู้บริหารระดับสูงของ สปป.ลาว และผู้ประกอบการเอกชนเข้าร่วมด้วย การเยือน สปป.
รวมถึงศูนย์บริการตรวจคนเข้าเมืองแบบเบ็ดเสร็จในจุดเดียว ถือเป็นการบูรณาการการเชื่อมโยงโครงข่ายทางรถไฟระหว่างไทย-ลาว- ในการเพิ่มขีดความสามารถ และศักยภาพระบบโลจิสติกส์ไทยด้วยการขนส่งผ่านระบบราง จะช่วยลดต้นทุนทางด้านเวลาและด้านโลจิสติกส์ นอกจากนี้ ได้มอบหมายให้กรมทางหลวง ศึกษาสำรวจออกแบบการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 7 หรือสะพานมิตรภาพไทยลาว เพราะ ทล.มีประสบการณ์การก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย สปป.
อย่างไรก็ตาม เบื้องต้นเห็นด้วยว่าสะพานดังกล่าวจะมีทางรถไฟ ส่วนจะมีเส้นทางสำหรับรถยนต์หรือไม่นั้น จะต้องหารืออีกครั้ง เนื่องจากทาง สปป.ลาวแจ้งว่าใช้งบประมาณสูง ตามปกติการก่อสร้างจะลงทุนคนละครึ่งระหว่างไทย สปป.ลาว ได้มอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาเส้นทางรถไฟขณะที่ไทยเป็นทางคู่ นายกรัฐมนตรีให้พิจารณาว่าจะเกิดปัญหา คอขวดหรือไม่ นอกจากนี้ ยังรวมถึงเส้นทางด้านใต้เชื่อมต่อไปยังมาเลเซียด้วย จากการหารือร่วมกับมาเลเซียก่อนหน้านี้ เห็นควรตั้งคณะทำงานร่วมกัน 5 ประเทศ ระหว่าง สปป.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'สส.เต้' ตรวจผับเมาท์เทนบี จี้ตั้งชุดสอบ จนท.รัฐ
อ่านเพิ่มเติม »
'สส.เต้' ตรวจผับเมาท์เทนบี จี้ตั้งชุดสอบ จนท.รัฐ
อ่านเพิ่มเติม »
นายกฯ พอใจผลขับเคลื่อนแก้ปัญหายากจนแบบพุ่งเป้าแล้วกว่า 2 หมื่นครัวเรือน : อินโฟเควสท์นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ชื่นชม พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รมว.มหาดไทย โดยศูนย์ขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ศจพ.) ขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาความยากจนแบบพุ่งเป้า ในส่วนของ “มิติความเป็นอยู่” ซึ่งมีจำนวน 147,503 ครัวเรือน ส่วนใหญ่ประสบปัญหาในเรื่องครัวเรือนไม่มีความมั่นคง ที่อยู่อาศัยและบ้านมีสภาพไม่คงทนถาวร ครัวเรือนจัดบ้านเรือนไม่ถูกสุขลักษณะ และมีน้ำอุปโภค บริโภคไม่เพียงพอ ซึ่งขณะนี้ มีจำนวนครัวเรือนที่สามารถแก้ไขปัญหาได้แล้ว 20,649 ครัวเรือน ความสำเร็จดังข้างต้นเป็นการบูรณาการการทำงานกับภาคส่วนต่าง ๆ รวมถึงดึงศักยภาพของพื้นที่ สนับสนุนงบประมาณในการสร้าง และซ่อมแซมที่อยู่อาศัย เช่น สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลได้สนับสนุนงบประมาณในการสร้างบ้าน เป็นเงิน 16,600,000 บาท จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดตั้งกองทุน “ซ่อมบ้าน สร้างรอยยิ้มให้ครัวเรือน คนเชียงใหม่” สำหรับจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้องค์กรสตรี จัดกิจกรรม “รวมพลังสตรีแก้จนคนนคร” ในการหาทุนสร้าง ซ่อมบ้านให้ครัวเรือนยากจนในจังหวัด ส่วนจังหวัดชัยนาท “ชัยนาท วัด รัฐ ราษฎร์ กาชาดร่วมใจ …
อ่านเพิ่มเติม »