รมว.อุตสาหกรรม มอบ กนอ. เร่งดำเนินการหลังไทย-จีน MoU ร่วมพัฒนานิคมฯ รับลงทุน BCG MOU กนอ กระทรวงพาณิชย์จีน กระทรวงอุตสาหกรรม อินโฟเควสท์
นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.อุตสาหกรรม เปิดเผยว่า กระทรวงอุตสาหกรรม กับกระทรวงพาณิชย์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้มีพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ ในช่วงการประชุมผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค เมื่อวันที่ 19 พ.ย.65 เพื่อจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนส่งเสริมความร่วมมือด้านการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม และสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการลงทุน โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมนโยบายความคิดริเริ่ม “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” เชื่อมโยงสู่นโยบายไทยแลนด์ 4.
ด้านนายวีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ.กล่าวว่า การลงนาม MOU ครั้งนี้เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล และสนับสนุนขีดความสามารถด้านความร่วมมือของอุตสาหกรรมด้วยการแบ่งปันประสบการณ์ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ การแพทย์ อุตสาหกรรมชีวภาพ และเศรษฐกิจหมุนเวียนชีวภาพ เพื่อเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่ในภาคการผลิต ขณะเดียวกันยังศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ทั้งในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่อื่นๆ ที่เหมาะสมอีกด้วย ซึ่ง กนอ.
“กนอ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'สุริยะ' มอบ กนอ. เร่งปั้นนิคมฯรับอุตฯอนาคต-พัฒนาแรงงาน รับเอ็มโอยูไทย-จีน‘สุริยะ’ มอบ กนอ. เร่งปั้นนิคมฯรับอุตฯอนาคต-พัฒนาแรงงาน รับเอ็มโอยูไทย-จีน via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »
อนุสรณ์ ชี้ FTAAP บนเวทีเอเปค 2022 ยังไม่คืบ,แนะดัน BCG ไปสู่เวทีโลก : อินโฟเควสท์นายอนุสรณ์ ธรรมใจ กรรมการวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวถึงผลกระทบจากการประชุมเอเปค 2022 ต่อเศรษฐกิจสังคมไทยและภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ว่า การเสนอความร่วมมือทางเศรษฐกิจผ่านแนวคิดเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy) ของไทยในที่ประชุมเอเปคนั้นนับว่าสอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจที่โลกกำลังเผชิญความท้าทายพื้นฐานในเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหาร อัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพสูง วิกฤติพลังงาน รวมทั้งปัญหาภาวะโลกร้อนและปัญหาสิ่งแวดล้อม การผลักดันเรื่องแนวคิดเศรษฐกิจ BCG ไม่ควรหยุดอยู่แค่เวทีเอเปค แต่ต้องขึ้นไปสู่เวทีระดับโลก เช่น องค์การการค้าโลก องค์การสหประชาชาติ World Economic Forum โดยการผลักดันอย่างต่อเนื่อง จริงจัง และเป็นรูปธรรม ไทยจึงอยู่ในสถานะของผู้กำหนดทิศทางและกฎการค้าและการลงทุนของภูมิภาคและของโลกได้ ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม แต่เราจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างอุตสาหกรรม (Industry Transformation) และเตรียมความพร้อมทางด้านคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ผ่านระบบการศึกษาที่มีคุณภาพสูง การลดการพึ่งพาการนำเข้าเทคโนโลยีของไทยอาจต้องอาศัยบรรษัทข้ามชาติเป้าหมาย (Targeted MNCs) เข้ามาจัดตั้งสถาบันวิจัยระดับโลกในไทยและพัฒนากลไกในการถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยีในประเทศขึ้นมาด้วยตัวเอง ส่วนความร่วมมือทางด้านการคลัง ความร่วมมือทางด้านการเกษตรและป่าไม้ ความร่วมมือทางด้านสาธารณสุขนั้นมีความคืบหน้าตามแนวคิดการเชื่อมโยง เปิดกว้าง และสมดุลมากกว่าเดิม ส่วนความร่วมมือทางด้าน SMEs และด้านกิจการสตรี ยังไม่เห็นความก้าวหน้าของความร่วมมือเพิ่มเติมมากนัก ขณะเดียวกันเวทีเอเปคควรเปิดกว้างให้ประชาชนและองค์กรภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมและมีกลไกความร่วมมือภายใต้เวทีเอเปคด้วย นายอนุสรณ์ กล่าวว่า แผนงานการขับเคลื่อนเขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก (Free Trade …
อ่านเพิ่มเติม »
นายกฯ ปลื้มผู้นำเอเปคทุกเขตเศรษฐกิจร่วมรับรอง Bangkok goals on BCG Economy : อินโฟเควสท์นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ผู้นำเอเปคจากทุกเขตเศรษฐกิจได้ร่วมรับรอง “ปฏิญญาผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค ค.ศ.2022” รวมทั้งได้ร่วมรับรอง “เป้าหมายกรุงเทพฯ ว่าด้วยเศรษฐกิจ BCG (Bangkok goals on BCG Economy)” ซึ่งในช่วงระหว่างการประชุมฯ และระหว่างการหารือแบบทวิภาคี ผู้นำเอเปคฯ ต่างกล่าวชื่นชมความริเริ่มที่ประเทศไทยได้นำเสนอแนวคิดโมเดลเศรษฐกิจ BCG ในการประชุมฯครั้งนี้ และเชื่อมั่นว่าโมเดลเศรษฐกิจ BCG จะสร้างการเติบโตของประเทศ และตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกได้อีกด้วย ประเทศไทยได้ริเริ่มโมเดลเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “โมเดลเศรษฐกิจ BCG” โดยตัว “B” คือ Bioeconomy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ ตัว “C” คือ Circular Economy หรือเศรษฐกิจหมุนเวียน และตัว “G” คือ Green Economy หรือเศรษฐกิจสีเขียว โดยมุ่งหวังให้เป็นกลไกยกระดับสถานะของประเทศ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้สูงขึ้นอย่างรวดเร็วในประชาคมโลก …
อ่านเพิ่มเติม »
ผู้นำเอเปคร่วมรับรองร่างปฏิญญา-เป้าหมายกรุงเทพฯ BCG, ไทยส่งมอบเจ้าภาพต่อให้สหรัฐฯ : อินโฟเควสท์นายอนุชา บูรพชัยศรี โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการหารือของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ในการประชุมผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 29 รูปแบบ Retreat ช่วงที่ 2 หัวข้อ “การค้าและการลงทุนที่ยั่งยืน” โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวว่า การค้าและการลงทุนมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนและครอบคลุมทั่วทั้งภูมิภาคและโลก การค้าและการลงทุนถือเป็นหัวใจสำคัญของความร่วมมือในเอเปค โดยองค์ประกอบสำคัญประการหนึ่งที่เอเปคสนับสนุน และสนับสนุนมาโดยตลอด คือ ระบบการค้าพหุภาคี มี WTO เป็นแกนหลัก ทั้งนี้ เอเปคสามารถมีบทบาทในฐานะแหล่งบ่มเพาะทางความคิด โดยร่วมกันหาทางออกใหม่ๆ เพื่อขับเคลื่อนประเด็นต่างๆ อาทิ ความครอบคลุม ความยั่งยืน และการเปลี่ยนผ่านไปสู่ดิจิทัล การสนับสนุนสำคัญอย่างหนึ่งของเอเปคในระบบการค้าพหุภาคี คือ การขับเคลื่อนวาระเรื่องเขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก (Free Trade Area of the Asia- Pacific: FTA-AP) ที่ในปีนี้มีความก้าวหน้าอย่างมาก โดยจัดทำแผนงานต่อเนื่องหลายปีเพื่อขับเคลื่อนวาระเรื่อง FTAAP ต่อไป ซึ่งจะช่วยสร้างศักยภาพและเตรียมเศรษฐกิจให้พร้อมสำหรับยุคหน้า รวมถึงประเด็นการค้าและการลงทุนยุคใหม่ เช่น ความยั่งยืน เศรษฐกิจดิจิทัล การค้า และสาธารณสุข …
อ่านเพิ่มเติม »
นายกรัฐมนตรี สุดปลื้ม ผู้นำเอเปคทุกเขตเศรษฐกิจร่วมรับรอง 'Bangkok goals on BCG Economy' ชื่นชมความริเริ่มของไทยนายกรัฐมนตรี สุดปลื้ม ผู้นำเอเปคทุกเขตเศรษฐกิจร่วมรับรอง 'Bangkok goals on BCG Economy' ชื่นชมความริเริ่มของไทย เชื่อมั่นโมเดลเศรษฐกิจ BCG จะสร้างการเติบโตของประเทศ ตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกได้
อ่านเพิ่มเติม »
นายกฯ สุดปลื้ม ผู้นำเอเปคร่วมรับรอง “Bangkok goals on BCG Economy”นายกรัฐมนตรีสุดปลื้ม ผู้นำเอเปคทุกเขตเศรษฐกิจร่วมรับรอง “Bangkok goals on BCG Economy” ชื่นชมความริเริ่มของไทย เชื่อมั่นโมเดลเศรษฐกิจ BCG จะสร้างการเติบโตของประเทศ ตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกได้
อ่านเพิ่มเติม »