นพ.วรงค์ เดชกิจวิกรม โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า ล่าสุดสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้ชี้แจงข้อมูล เพื่อปกป้องเอกชน
ระบุว่าธุรกิจดาวเทียมปัจจุบันไม่ใช่ธุรกิจที่ผูกขาดภายใต้ระบบสัมปทานเหมือนในอดีต ประเทศไทยต้องแข่งขันกับตลาดต่างประเทศ
ส่วนเรื่องการผูกขาด เนื่องจากกิจการสื่อสารภายในประเทศ มันมีแค่ดาวเทียมบริษัทเดียวที่ให้บริการ จะเป็นสัมปทานหรือใบอนุญาต มันเป็นการผูกขาดอยู่ดี แต่ระบบสัมปทาน ยังเป็นสมบัติของรัฐตลอด และต้องมอบให้รัฐเมื่อครบสัญญา แต่เป็นใบอนุญาต ทุกอย่างตกเป็นของเอกชน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กระชากหน้ากากนักการเมืองชั่วหลอก 'ตะวัน - แบม' เป็นเครื่องมือ หวังผลทางการเมือง‘หมอวรงค์’ ลั่นต้องกระชากหน้ากากนักการเมืองชั่ว ที่หลอก ‘ตะวัน - แบม’ เป็นเครื่องมือ หวังผลทางการเมือง ในช่วงใกล้เลือกตั้ง ย้ำปัญหาประเทศ เกิดจากนักการเมืองโกง ไม่ใช่ มาตรา112
อ่านเพิ่มเติม »
'หมอวรงค์' ฝากถึง 'อนุดิษฐ์' มือปราบโกง ทสท.ช่วยลากไส้เรื่องดาวเทียมด้วย'หมอวรงค์' แฮชแท็กถึง 'อนุดิษฐ์' อยากให้ลากไส้ความจริงเรื่องดาวเทียมให้สมเป็นผู้อำนวยการสำนักงานปราบโกง พรรคไทยสร้างไทย
อ่านเพิ่มเติม »
กสทช.เร่งหาแนวทางรักษาสิทธิวงโคจรดาวเทียมชุดที่ไร้ผู้เข้าประมูล : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เร่งพิจารณาแนวทางในการรักษาสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมชุดที่ไม่มีผู้ประมูล หลังศาลปกครองกลางมีคำสั่งยกคำขอให้ศาลมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว กรณีการประมูลสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียม ที่ประมูลไปเมื่อ 15 มกราคม 2566 โดยมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566 ศาลปกครองกลางได้ให้คู่กรณีทุกฝ่ายได้มีโอกาสชี้แจงข้อเท็จจริงแล้ว ซึ่งสำนักงาน กสทช. ได้แจงว่า การดำเนินการประมูลได้ทำตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด รวมทั้งความพยายามในการแก้ไขปัญหา หลังจากที่ กสทช. ชุดที่ผ่านมา ได้ยกเลิกการประมูลเมื่อ 18 สิงหาคม 2564 เนื่องจากมีผู้ประกอบการเข้าร่วมเพียงรายเดียว จึงได้ปรับปรุงประกาศให้เปิดกว้าง โปร่งใสและเป็นธรรม โดยคงหลักการกำหนดราคาขั้นต่ำเช่นเดิม เพื่อให้มีผู้ร่วมแข่งขันให้มากที่สุด ซึ่งหากการทำธุรกิจดังกล่าวได้รับผลตอบแทนอย่างที่มีการกล่าวอ้าง ทำไมทั้ง 6 บริษัทที่มีสิทธิร่วมแข่งขันจึงเข้าร่วมประมูลเพียง 3 บริษัท ในการนี้ผู้ประกอบการต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ ดังเช่น บมจ. โทรคมนาคมแห่งชาติ (NT) ได้มีการวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุนของแต่ละชุดก่อนการประมูล พบว่าการร่วมประมูลในชุดที่ 4 มีความเหมาะสมต่อองค์กรมากที่สุด นอกจากนี้ธุรกิจดาวเทียมปัจจุบันไม่ใช่ธุรกิจที่ผูกขาดภายใต้ระบบสัมปทานเหมือนในอดีต ประเทศไทยต้องแข่งขันกับตลาดต่างประเทศ ที่ต่างชาติต้องการมาทำธุรกิจในประเทศไทยเช่นกัน ซึ่ง กสทช.คงต้องพิจารณาในบางกรณีเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดีที่สุด โดยที่ต้นทุนดาวเทียมต่างชาติในหลายประเทศมีนโยบายส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเอกชนได้ใช้สิทธิดังกล่าว เพื่อมาทำตลาดต่างประเทศและนำรายได้เข้าประเทศตนเอง […]
อ่านเพิ่มเติม »
‘กสทช.’ เร่งพิจารณาแนวทาง ‘รักษาสิทธิ’ วงโคจรดาวเทียมฯ 2 ชุด ที่ยังไม่มีผู้ยื่นประมูล‘สำนักงาน กสทช.’ เร่งพิจารณาแนวทาง ‘รักษาสิทธิ’ การเข้าใช้วงโคจรดาวเทียม 2 ชุด ที่ยังไม่มีผู้ยื่นประมูล หลัง ‘ศาลปกครองกลาง’ มีคำสั่งยกคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวฯ
อ่านเพิ่มเติม »
6 หน่วยงานรัฐรับไม้ต่อใช้ Digital ID ให้บริการประชาชนกรมการปกครอง, กรมสรรพากร, ก.ล.ต., สพร., สำนักงาน กสทช. และ NDID ร่วมกันเดินหน้าผลักดัน ดิจิทัลไอดี (Digital ID) หรือ การพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลให้ใช้งานได้จริง ผ่านเครื่องมือที่บอกและยืนยันว่า “เราเป็นใคร” ในโลกออนไลน์โดยไม่ถูกปลอมแปลง
อ่านเพิ่มเติม »