ม.เกษตรฯ เผย 'ฝุ่น PM 2.5 ' ใน กทม. มาจากการเผาไหม้ ลดฝุ่นจากรถยนต์ช่วยได้

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ม.เกษตรฯ เผย 'ฝุ่น PM 2.5 ' ใน กทม. มาจากการเผาไหม้ ลดฝุ่นจากรถยนต์ช่วยได้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 tnnthailand
  • ⏱ Reading Time:
  • 36 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 18%
  • Publisher: 59%

ม.เกษตรศาสตร์ เผย 'ฝุ่น PM 2.5' ใน กทม. มาจากการเผาและจราจร ลดฝุ่นจากรถยนต์และแจ้งเตือนล่วงหน้าช่วยได้

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมด้วย นายพรพรหม วิกิตเศรษฐ์ ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้บริหารด้านความยั่งยืนของกรุงเทพมหานคร ลงพื้นที่สถานีตรวจวัดอุตุนิยมวิทยาใกล้ผิวดินและมลสารทางอากาศ เพื่อติดตามสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมี รศ.ดร.สุรัตน์ บัวเลิศ อาจารย์คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำเยี่ยมชมการทำงานของ KU TOWER

สำหรับ KU TOWER เป็นเสาสูงขนาด 117 เมตร ใช้ในการเก็บตัวอย่างลักษณะทางอุตุนิยมวิทยาใกล้ผิวดินและมลสารทางอากาศ โดยมีระดับของการวัดที่ระดับความสูง 5 ระดับคือ 10, 30, 50, 75 และ 110 เมตร และมีเรื่องของฝุ่นที่เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 3 ระดับ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำมาใช้วิเคราะห์ที่มาของฝุ่น รวมทั้งหาองค์ประกอบทางเคมีว่าฝุ่นเหล่านี้มาจากกิจกรรมประเภทใดม.เกษตรศาสตร์ เผยสถานการณ์"ฝุ่น PM 2.

จริง ๆ แล้ว ฝุ่นใน กทม.

อาจารย์สุรัตน์ ให้ความเห็นว่าการจะแก้ปัญหาฝุ่นสูงตอนนี้ เนื่องจากปัญหาหลักอยู่ที่การเผาไหม้ข้างนอก ในกรุงเทพมหานครจึงควรทำในส่วนที่ทำได้ คือมาตรการลดฝุ่นที่เกิดจากในพื้นที่ ซึ่งก็คือฝุ่นจากรถยนต์ต่าง ๆ และสิ่งที่ช่วยได้เยอะคือการพยากรณ์และแจ้งเตือนล่วงหน้าว่าช่วงไหนจะเป็นอย่างไร

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

tnnthailand /  🏆 29. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

“รมว.สธ.” จัดงานวันเด็ก ให้เด็กที่ป่วย มอบของขวัญ การรักษาด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง“รมว.สธ.” จัดงานวันเด็ก ให้เด็กที่ป่วย มอบของขวัญ การรักษาด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง“สมศักดิ์” จัดงานวันเด็ก ให้เด็กที่ป่วย มอบของขวัญ การรักษาด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ยัน รัฐบาล ให้ความสำคัญกับเด็ก หลังไทย เจอปัญหาเด็กเกิดน้อย จึงเน้นย้ำดูแลเด็กที่เกิดแล้วป่วยเป็นพิเศษ เผย ฝุ่น PM 2.5 ดีขึ้น ไม่เกินค่ามาตรฐาน ไม่กระทบต่อสุขภาพประชาชน วันที่ 11 ม.ค.
อ่านเพิ่มเติม »

กรุงเทพฯ เกิดฝุ่น PM 2.5 ค่าเกินมาตรฐาน 70 พื้นที่กรุงเทพฯ เกิดฝุ่น PM 2.5 ค่าเกินมาตรฐาน 70 พื้นที่ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร (กทม.) รายงานว่าสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในกรุงเทพฯ เวลานี้ ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง อยู่ระหว่าง 39.5-60.3 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) ซึ่งเกินมาตรฐานที่กำหนดไว้ที่ 37.5 มคก./ลบ.ม.ส่งผลให้เกิดสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในระดับสีส้ม เกิดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน
อ่านเพิ่มเติม »

ปิดแล้ว! 103 รร.กทม.หนีฝุ่น ห้ามรถบรรทุกเข้าเขตวิกฤต 23 ม.ค.ปิดแล้ว! 103 รร.กทม.หนีฝุ่น ห้ามรถบรรทุกเข้าเขตวิกฤต 23 ม.ค.อัปเดตโรงเรียน 103 แห่งสังกัด กทม.ประกาศปิดโรงเรียนเนื่องจากสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 บางแห่ง 2-4 วัน ส่วนกทม.ประเมินคุณภาพอากาศยังปิดถึงปลายสัปดาห์ งัดมาตรการห้ามรถบรรทุกเข้าเขตวิกฤตฝุ่น 23 -24 ม.ค.นี้ วันนี้ (22 ม.ค.2568) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่กทม.
อ่านเพิ่มเติม »

เช็กพิกัด 67 พื้นที่ ฝุ่น PM 2.5 พุ่งเกินค่ามาตรฐาน เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพเช็กพิกัด 67 พื้นที่ ฝุ่น PM 2.5 พุ่งเกินค่ามาตรฐาน เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพเช็กพิกัด 67 พื้นที่ ฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งเกินค่ามาตรฐาน เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ “ลาดกระบัง” สูงสุด ขณะที่ กทม.เผย แนวโน้มฝุ่นเพิ่มขึ้นในช่วงวันที่ 19-24 ม.ค.นี้ แนะสวมหน้ากากป้องกัน
อ่านเพิ่มเติม »

วิจัย 'PM 2.5 พังทั้งเลือด พังทั้งค่าปอด'วิจัย 'PM 2.5 พังทั้งเลือด พังทั้งค่าปอด'ผู้ใช้เพจ Health Performance Team โพสต์วิจัย 'PM 2.5 พังทั้งเลือด พังทั้งค่าปอด' ผู้วิจัยเก็บค่า VO2max เพื่อดูการพัฒนาของสมรรถภาพปอด และค่าเลือดเพื่อดูการทำงานของเม็ดเลือดขาว-เม็ดเลือดแดง ผลการทดลองพบว่า ฝุ่น PM 2.5 ที่ระดับสูง (102.33 µg/m³) ไม่พัฒนาค่าปอด แต่ระดับ PM 2.5 ที่ระดับต่ำ (83.44 µg/m³) พัฒนาระดับเม็ดเลือดขาว
อ่านเพิ่มเติม »

ฝุ่น PM 2.5 เป็นภัยคุกคามร้ายแรงต่อเด็กฝุ่น PM 2.5 เป็นภัยคุกคามร้ายแรงต่อเด็กฝุ่น PM 2.5 สามารถแทรกซึมเข้าสู่ทางเดินหายใจได้ลึกถึงปอด และเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างง่ายดาย ซึ่งฝุ่นเหล่านี้สามารถกระตุ้นให้เกิดปัญหาสุขภาพเรื้อรัง เช่น โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ และโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต โดยเฉพาะในเด็กมีความเสี่ยงสูงกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากร่างกายและระบบภูมิคุ้มกันของเด็กยังพัฒนาไม่เต็มที่
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-07 20:40:49