สัตวแพทย์ แนะนำ วิธีการดูแลและป้องกันโรคในสัตว์ช่วงภาวะน้ำท่วม พร้อมย้ำวิธีการบริโภคเนื้อสัตว์อย่างปลอดภัย ควรเลือกซื้อจากแหล่งจำหน่ายที่มีการรับรองและต้องปรุงสุกก่อนการบริโภคทุกครั้ง วันที่ 6 ก.ย.67 รศ.น.สพ.ดร.
สัตวแพทย์ แนะนำ วิธีการดูแลและป้องกันโรคในสัตว์ช่วงภาวะน้ำท่วม พร้อมย้ำวิธีการบริโภคเนื้อสัตว์อย่างปลอดภัย ควรเลือกซื้อจากแหล่งจำหน่ายที่มีการรับรองและต้องปรุงสุกก่อนการบริโภคทุกครั้ง
นอกจากนี้ สัตว์ที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วม ในคอกเลี้ยงหรือสถานที่เลี้ยงที่มีน้ำขังนานๆ มักจะมีปัญหาเรื่องผิวหนัง กีบและเต้านมอักเสบ ส่วนโรคที่มากับน้ำและต้องเฝ้าระวังเป็นอย่างมาก คือ โรคฉี่หนู เพราะติดต่อได้ทั้งคนและสัตว์ เป็นโรคที่ค่อนข้างอันตรายและมีอาการรุนแรง โดยเกิดจาก แบคทีเรีย เลปโตสไปโรซิส ซึ่งปนเปื้อนมากับน้ำ ถ้าคนหรือสัตว์มีบาดแผลแล้วเดินลุยน้ำที่มีเชื้อโรคอยู่ เชื้อโรคก็จะผ่านเข้าทางบาดแผลได้ หรือกระเด็นเข้าตามเยื่อบุต่าง ๆ เช่น ตา จมูก หรือ ปาก โดยโรคนี้อาการ คือ มีไข้สูง ปวดศีรษะ...
อีกปัญหาที่มักจะตามมาหลังน้ำท่วม คือ สัตว์พาหะนำโรคต่างๆ เช่น แมลงพาหะ ยุง เหลือบ ไร โดยแมลงเหล่านี้จะมาเวลาที่มีน้ำท่วมขัง รวมไปถึงสัตว์พาหะอื่นๆ ที่หนีน้ำมา เช่น หนู ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญในโรคระบาดหลายๆโรค เช่น ไข้สามวันในวัว ลัมปี สกิน หรือโรคที่มากับแมลงและยุง อย่าง พยาธิเม็ดเลือด ส่วนในสุกร เช่น โรคอหิวาต์สุกร โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ซึ่งมากับแมลงได้เช่นกัน สำหรับโรคในสัตว์ปีก ที่มากับยุง เช่น โรคมาลาเรีย พยาธิเม็ดเลือดอื่นๆ ส่วนที่มากับหนู คือพวกแบคทีเรีย อย่าง ซัลโมเนลลา หรือ อีโคไล...
ขณะที่โรคอื่นๆ ในสุกร ที่ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษ ได้แก่ อหิวาต์แอฟริกาในสุกร เนื่องด้วยโรคนี้มีความทนทานในสิ่งแวดล้อมสูงเมื่อเทียบกับโรคอื่น จึงมีความเสี่ยงสูงมากกว่าโรคอื่นๆ กรณีที่มีสุกรป่วย สุกรตาย หรือมีเชื้อโรคและสิ่งปนเปื้อนอยู่ในน้ำ แล้วพัดไปตามพื้นที่อื่นๆ ที่ยังไม่ได้รับผลกระทบจากโรคนี้ ฟาร์มต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษสำหรับมาตรการป้องกันและรักษาโรค หากเป็นโรคที่มีวัคซีนในการควบคุมป้องกันโรค แนะนำว่าควรฉีดวัคซีนให้สัตว์เพื่อป้องกันการเกิดโรค หรือเพื่อลดความรุนแรงจากการเกิดโรค...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กินอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ในภาวะอุทกภัยผู้เชี่ยวชาญ แนะนำผู้ประสบอุทกภัย ควรคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ควบคู่กับการกินอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ให้ได้รับสารอาหารที่จำเป็นและพลังงานเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรงในช่วงสถานการณ์น้ำท่วม ด้านหน่วยงานช่วยเหลือ ควรหลีกเลี่ยงมอบอาหารที่บูดง่าย...
อ่านเพิ่มเติม »
กทม.เร่งเติมกำลังคน แก้ปัญหาบุคลากรขาดวันที่ 6 ก.ย.67 ที่ศาลาว่าการ กทม.
อ่านเพิ่มเติม »
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ กำลังแซงหน้า'โควิด'วันที่ 6 ก.ย.67 นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์ แพทย์เฉพาะทางด้านโรคระบบการหายใจ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ โพสต์ข้อความเฟซบุ๊ก หมอมนูญ ลีเชวงวงศ์ FC ระบุว่า...
อ่านเพิ่มเติม »
“กรุณพล” ลากไส้ค่าอาหารสส.ปีละ 72 ล้านบาท ด้าน 'ธเนศ' เล็งแก้ปัญหาให้สส.ใช้บัตรเติมเงินวันละ 350 บาทวันที่ 5 ก.ย.67 ที่รัฐสภา ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่มีนายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่2 ทำหน้าที่ประธาน เพื่อการประชุมพิจารณาร่าง พ.ร.บ.
อ่านเพิ่มเติม »
รายงานพิเศษ..ภาวะพิษจากไซยาไนด์ (cyanide poisoning)วันที่ 5 ก.ย.67 ที่กองพิสูจน์หลักฐานพ.ต.ท.หญิง ธนวรรณ ภัสสรานนท์ ผู้ตรวจพิสูจน์ยาเสพติดและยาพิษ กองพิสูจน์หลักฐาน นพ.
อ่านเพิ่มเติม »
'ชัชชาติ' คาดใช้หนี้บีทีเอสภายใน 100 วัน ยันไม่เจตนาล่าช้า ทำตามขั้นตอนวันที่ 5 ก.ย.67 ที่ศาลาว่าการกทม.
อ่านเพิ่มเติม »