ภูมิธรรม ปัดลือขึ้น VAT 15% ไม่เกี่ยวรัฐบาลถังแตก

POLITICS ข่าว

ภูมิธรรม ปัดลือขึ้น VAT 15% ไม่เกี่ยวรัฐบาลถังแตก
ภูมิธรรม เวชยชัยVATภาษี
  • 📰 PostToday
  • ⏱ Reading Time:
  • 69 sec. here
  • 9 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 52%
  • Publisher: 51%

นายภูมิธรรม เวชยชัย ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวคิดการปรับ VAT และภาษีเงินได้นิติบุคคล 15% ชี้ไม่เกี่ยวรัฐบาลขาดทุนจากวิพากษ์วิจารณ์ แต่เป็นกระบวนการจัดเก็บภาษีตามความยุติธรรม

ภูมิธรรม ปัดผุดแนวคิดขึ้น VAT 15% ไม่เกี่ยว รัฐบาล ถังแตกเพราะแจกเงินหมื่น ชี้เป็นไปตามกระบวนการจัดเก็บ ภาษี -ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย ระบุยังไม่ได้ข้อสรุป ย้ำนายกฯและ รัฐบาล คำนึงถึงความเดือดร้อนของประชาชนเป็นที่ตั้ง

นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้สัมภาษณ์ถึงกรณี แนวคิดในการปรับปรุงมูลค่าเพิ่ม 15% ปรับภาษีเงินได้นิติบุคคล 15% นั้นอาจทำให้รัฐบาล โดนวิพากษ์วิจารณ์ฟรีหรือไม่ ว่า รัฐบาลก็พยายามดูอยู่ นายกฯก็เป็นห่วงในเรื่องนี้ ตนคิดว่าขอให้มีการสรุปชัดเจนก่อน เพราะตอนนี้ก็ยังไม่ได้สรุปว่าอย่างไร เพราะยังอยู่ในกระบวนการว่ากำลังจะทำและก็ต้องคำนึงถึงหลายๆอย่างที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม รัฐบาลก็พยายามประคองมาอยู่ระยะหนึ่งแล้ว ดังนั้นตนคิดว่าก็ต้องดูว่าจะเป็นไปต่อได้ในระดับไหน...

เมื่อถามต่อว่า เป็นเพราะว่ารัฐบาลถังแตกจากโครงการดิจิทัล วอลเล็ตหรือไม่ นายภูมิธรรม ตอบทันทีว่า มันไม่เกี่ยวว่าถังแตกหรือถังไม่แตก แต่เป็นไปตามกระบวนการที่ควร เพื่อให้การจัดการภาษีเกิดความยุติธรรมกับทุกฝ่าย ซึ่งเป็นหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับทุกส่วน เพราะฉะนั้นกระทรวงการคลังก็มีหน้าที่ในการดู สิ่งสำคัญที่สุดคือทำอย่างไรให้ประชาชนไม่เดือดร้อน เพียงแต่ว่าต้องให้กระบวนการเก็บภาษีเป็นธรรมมากที่สุด

ส่วนปัจจัยหลักที่จะทำให้เกิดการปรับขึ้นภาษีจริงๆนั้น นายภูมิธรรม กล่าวว่า ต้องถามไปที่กระทรวงการคลัง และ ถามนายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เพราะมีข้อมูลทั้งระบบอยู่แล้ว โดยขณะนี้ยังไม่ได้ประชุมคณะรัฐมนตรี จึงยังไม่ทราบรายละเอียดว่าท่านคำนึงถึงแต่ละส่วนอย่างไร ตนคิดว่าหากท่านพร้อมจะตัดสินใจเมื่อไหร่ เมื่อสรุปแล้วชัดเจนก็คงมีการชี้แจง แต่ยืนยันได้ว่า นายกฯก็ดี รัฐบาลก็ดี คำนึงถึงความเดือดร้อนของประชาชน เป็นที่ตั้ง...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

PostToday /  🏆 50. in TH

ภูมิธรรม เวชยชัย VAT ภาษี รัฐบาล ความยุติธรรม กระทรวงการคลัง

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

“ธนกร” ชี้ขึ้นภาษี VAT 15% ซ้ำเติมประชาชน เพิ่มภาระค่าครองชีพ-ฉุดเศรษฐกิจ“ธนกร” ชี้ขึ้นภาษี VAT 15% ซ้ำเติมประชาชน เพิ่มภาระค่าครองชีพ-ฉุดเศรษฐกิจ“ธนกร” ชี้ขึ้นภาษี VAT 15% ซ้ำเติมประชาชน เพิ่มภาระค่าครองชีพ-ฉุดเศรษฐกิจ ระบุจะส่งผลให้การบริโภคในประเทศชะลอตัวและกระทบการเติบโตทางเศรษฐกิจ แนะควรมีมาตรการเสริม เว้น VAT สินค้าและบริการที่จำเป็นต่อการดำรงชีพ
อ่านเพิ่มเติม »

รัฐบาลโต้ถังแตก ขึ้นภาษีแวต 15% โยนคลังสรุปให้ชัดก่อนรัฐบาลโต้ถังแตก ขึ้นภาษีแวต 15% โยนคลังสรุปให้ชัดก่อน'ภูมิธรรม' บอกรอคลังสรุปให้ชัดเจน ปมขึ้นภาษีแวต 15% ปัดถังแตกจากโครงการแจกหมื่น ยันทำให้ประชาชนเดือดร้อนน้อยที่สุด
อ่านเพิ่มเติม »

คลังเสนอปรับโครงสร้างภาษี ลดภาษีเงินได้ เพิ่ม VAT สอดคล้อง Global Minimum Taxคลังเสนอปรับโครงสร้างภาษี ลดภาษีเงินได้ เพิ่ม VAT สอดคล้อง Global Minimum Taxกระทรวงการคลังเสนอปรับโครงสร้างภาษี ลดภาษีเงินได้และเพิ่มภาษีบริโภค VAT ที่ 15% เพื่อสอดคล้องกับ Global Minimum Tax สนับสนุนการลงทุนและความยั่งยืนของเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »

รมว.คลังเผยแนวคิดปรับขึ้น VAT เป็น 15%รมว.คลังเผยแนวคิดปรับขึ้น VAT เป็น 15%พิชัย รมว.คลัง ยืนยันว่าแนวคิดการปรับขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) เป็น 15% ยังเป็นการศึกษาข้อดี-ข้อเสีย และยอมรับว่าจะส่งผลกระทบต่อชีวิตประชาชน
อ่านเพิ่มเติม »

นายกฯอิ๊งค์มอบ'พิชัย'ชี้แจงปมขึ้นภาษีVAT15% เข้าใจประชาชนเดือดร้อนนายกฯอิ๊งค์มอบ'พิชัย'ชี้แจงปมขึ้นภาษีVAT15% เข้าใจประชาชนเดือดร้อนนายกฯแพทองธาร ชินวัตร มอบ รองนายกฯและรมว.คลังพิชัย ชุณหวชิร แจงปมขึ้นภาษี VAT 15% ยอมรับเข้าใจประชาชนจะได้รับความเดือดร้อน ขณะที่พิชัย ยันการเก็บภาษีอัตราสูงขึ้นและเหมาะสมจะช่วยให้คนรายได้ต่ำรอด
อ่านเพิ่มเติม »

ขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่มจาก 7% โจทย์สำคัญของการปฏิรูปภาษีไทยขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่มจาก 7% โจทย์สำคัญของการปฏิรูปภาษีไทยประเทศไทยเตรียมปรับโครงสร้างภาษี กระทรวงการคลังส่งสัญญาณเพิ่ม VAT เพื่อเพิ่มรายได้สำหรับการพัฒนาประเทศในระยะยาว นักวิชาการ TDRI ชี้ การปรับขึ้น VAT เป็นสิ่งจำเป็น แต่ผลกระทบต่อครัวเรือนรายได้น้อยยังคงเป็นปัจจัยที่ต้องให้ความสำคัญ
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-06 21:42:52