ฟิลิปปินส์ยึดเป้า GDP โตในอีก 5 ปีตามเดิม หลังดีมานด์-แรงงานดีขึ้น : อินโฟเควสท์

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ฟิลิปปินส์ยึดเป้า GDP โตในอีก 5 ปีตามเดิม หลังดีมานด์-แรงงานดีขึ้น : อินโฟเควสท์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 InfoQuestNews
  • ⏱ Reading Time:
  • 20 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 11%
  • Publisher: 68%

ฟิลิปปินส์ยึดเป้า GDP โตในอีก 5 ปีตามเดิม หลังดีมานด์-แรงงานดีขึ้น GDP ฟิลิปปินส์ เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ อินโฟเควสท์

สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานว่า ฟิลิปปินส์ยังคงเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วง 5 ปีข้างหน้าในวันนี้ ไว้ตามเดิม โดยให้เหตุผลว่ามีอุปสงค์ในประเทศเพิ่มขึ้นและสภาพแรงงานที่ดีขึ้น ซึ่งจะช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศสามารถเผชิญกับอุปสรรคต่าง ๆ จากภายนอกได้

คณะกรรมการประสานงานด้านงบประมาณเพื่อการพัฒนาของรัฐบาลฟิลิปปินส์ รายงานว่า ฟิลิปปินส์ตั้งเป้าให้ GDP เติบโตขึ้นระหว่าง 6.0%-7.0% ในปีนี้ ซึ่งชะลอตัวจากระดับ 7.6% ในปีที่แล้วนายอาร์เซนิโอ บาลิซาคาน เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจและการพัฒนาแห่งชาติของฟิลิปปินส์ กล่าวว่า “มีโอกาสที่จะเติบโตอย่างแข็งแกร่งต่อไปแม้ว่าจะมีอุปสรรคจากภายนอกก็ตาม ณ จุดนี้ เศรษฐกิจของเราค่อนข้างแข็งแกร่งพอสมควร”

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

InfoQuestNews /  🏆 7. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

หุ้นไทยแนวโน้มดัชนีเช้าแกว่งไซด์เวย์คล้ายภูมิภาค ไร้ปัจจัยหนุน-รอดู GDP สหรัฐฯ-ยุโรป : อินโฟเควสท์หุ้นไทยแนวโน้มดัชนีเช้าแกว่งไซด์เวย์คล้ายภูมิภาค ไร้ปัจจัยหนุน-รอดู GDP สหรัฐฯ-ยุโรป : อินโฟเควสท์นักวิเคราะห์ฯ คาดตลาดหุ้นไทยเช้านี้แก่งไซด์เวย์ออกด้านข้าง สอดคล้องตลาดหุ้นในภูมิภาค เนื่องจากยังไม่มีปัจจัยใหม่หนุน โดยนักลงทุนรอดูตัวเลข GDP สหรัฐและยุโรป รวมถึงตัวเลข PCE สหรัฐในปลายสัปดาห์ ส่วนบ้านเรายังรอดูผลงานไตรมาส 1/66 อย่างต่อเนื่อง และตัวเลขส่งออกสัปดาห์นี้ ให้แนวรับไว้ที่ 1,550 จุด และแนวต้าน 1,570 จุด นายวีระวัฒน์ วิโรจน์โภคา ผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล.ฟินันเซีย ไซรัส กล่าวว่า ตลาดหุ้นไทยเช้านี้คาดแกว่งไซด์เวย์ออกด้านข้าง สอดคล้องกับตลาดหุ้นอื่นในภูมิภาคเอเชีย เนื่องจากยังไม่มีปัจจัยบวกใหม่เข้ามาสนับสนุน ขณะที่นักลงทุนยังรอดูการเปิดเผยตัวเลขการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ไตรมาสแรกของฝั่งสหรัฐและยุโรป รวมถึงตัวเลข PCE สหรัฐฯ ในช่วงปลายสัปดาห์นี้ ส่วนบ้านเรายังคงติดตามการทยอยประกาศผลการดำเนินงานในไตรมาสแรกของบริษัทจดทะเบียน และตัวเลขส่งออกของไทยในช่วงกลางสัปดาห์นี้ ให้แนวรับไว้ที่ 1,550 จุด และแนวต้าน 1,570 จุด โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (24 เม.ย. 66) Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine
อ่านเพิ่มเติม »

SCB EIC คาดศก.ไทยปีนี้รับอานิสงส์ท่องเที่ยวฟื้นต่อเนื่อง-เลือกตั้งหนุน GDP 0.07% : อินโฟเควสท์SCB EIC คาดศก.ไทยปีนี้รับอานิสงส์ท่องเที่ยวฟื้นต่อเนื่อง-เลือกตั้งหนุน GDP 0.07% : อินโฟเควสท์ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC) ประเมินท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง แม้การส่งออกยังไม่สดใส แต่คาดกลับมาขยายตัวได้ช่วงครึ่งหลังของปี ขณะที่เม็ดเงินหาเสียงในช่วงเลือกตั้ง จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทยเพิ่มเติมกว่า 0.07% ของ GDP ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC) ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยปรับดีขึ้นชัดเจนในหลายองค์ประกอบ นำโดยภาคการท่องเที่ยว ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2566 นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าไทยแล้วกว่า 6.5 ล้านคน และมีแนวโน้มฟื้นตัวดีต่อเนื่องจากการกลับมาของนักท่องเที่ยวจีน รวมถึงการท่องเที่ยวในประเทศจากความต้องการท่องเที่ยวที่ยังอยู่ในระดับสูงและปัจจัยสนับสนุนจาก โครงการเราเที่ยวด้วยกันเฟส 5 ส่งผลให้การบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับสูงสุดในรอบกว่า 3 ปี ขณะที่การส่งออกหดตัวเป็นเดือนที่ 5 และแนวโน้มการส่งออกในช่วงครึ่งแรกของปี ยังน่าห่วงจากเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวชะลอลงและปัจจัยฐานสูงเป็นสำคัญ แต่แนวโน้มการส่งออกในครึ่งหลังของปีจะได้รับอานิสงส์มากขึ้นจากการฟื้นตัวของอุปสงค์จีนหลังเปิดประเทศ รวมถึงเศรษฐกิจโลกที่จะผ่านจุดต่ำสุดแล้ว การฟื้นตัวของการลงทุนภาคเอกชนมีความชัดเจนมากขึ้นตามความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการ ขณะที่การผลิตภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้นจากการผลิตเพื่อป้อนคำสั่งซื้อเก่าและงานคงค้างเดิม ขณะที่อัตราเงินเฟ้อไทยสูงขึ้นในอัตราที่ชะลอลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะราคาสินค้าหมวดพลังงานที่ชะลอตัวลงมากตามราคาพลังงานโลกและมาตรการอุดหนุนภาครัฐที่ยังมีอยู่ อย่างไรก็ดี เงินเฟ้ออาจกลับมาเร่งตัวอีกครั้งในช่วงท้ายปีหลังจากนโยบายพยุงค่าครองชีพของภาครัฐทยอยลดลงและการส่งผ่านต้นทุนมายังผู้บริโภคมีมากขึ้นในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวรวมถึงปัจจัยฐานที่เริ่มทรงตัว สำหรับการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง SCB EIC ประเมินเม็ดเงินหาเสียงในช่วงเลือกตั้งจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทยเพิ่มเติมอย่างน้อย 0.07% ของ GDP SCB EIC ประเมินว่า Terminal […]
อ่านเพิ่มเติม »

ผู้ว่าธปท. คาดเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลังโต 4.3% หนี้ครัวเรือนยังไม่กระทบผู้ว่าธปท. คาดเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลังโต 4.3% หนี้ครัวเรือนยังไม่กระทบ“เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ“ ผู้ว่าธปท.คาดเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลังโต 4.3% แม้หนี้ครัวเรือนยังสูง แต่ไม่ลุกลามไปเป็นปัญหาของระบบการเงินอย่างแน่นอน แต่อาจฉุดการขยายตัวของ GDP ธปท ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »

ผู้ว่าธปท.ชี้เศรษฐกิจไทยไม่ต้องกระตุ้น เน้นดูแลเสถียรภาพ ไม่ควรใช้ประชานิยมทอดแหผู้ว่าธปท.ชี้เศรษฐกิจไทยไม่ต้องกระตุ้น เน้นดูแลเสถียรภาพ ไม่ควรใช้ประชานิยมทอดแหดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า เศรษฐกิจไทยอยู่ในช่วงกำลังฟื้นตัวคาดว่า GDP ไทยปี 2566 จะอยู่ที่ 3.6% โดยเป็นการฟื้นตัวจากภาคท่องเที่ยวเป็นสำคัญซึ่งคาดว่าในปีนี้จะมีนักท่องเทียวเดินทางเข้าไทย 28 ล้านคน ทั้งนี้แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยทำให้ความจำเป็นของการกระตุ้นเศรษฐกิจไม่ได้มีมากขนาดนั้น บริบทของเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันไม่ใช่โหมดกระตุ้นเศรษฐกิจแต่เป็นการปรับนโยบายให้เข้าสู่สภาวะปกติหลังจากที่ในช่วงโควิดต้องใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังดูแลอย่างเต็มที่
อ่านเพิ่มเติม »

BAY คาดกรอบบาทสัปดาห์นี้ 34.15-34.70 ติดตามสัญญาณผู้ว่า BOJ คนใหม่-ตัวเลขศก.สหรัฐฯ : อินโฟเควสท์BAY คาดกรอบบาทสัปดาห์นี้ 34.15-34.70 ติดตามสัญญาณผู้ว่า BOJ คนใหม่-ตัวเลขศก.สหรัฐฯ : อินโฟเควสท์กลุ่มงานโกลบอลมาร์เก็ตส์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY) เผยมุมมองที่มีต่อทิศทางค่าเงินบาทในสัปดาห์นี้ว่า เงินบาทสัปดาห์นี้มีแนวโน้มเคลื่อนไหวในกรอบ 34.15-34.70 บาท/ดอลลาร์ เทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เงินบาทปิดอ่อนค่าที่ 34.38 บาท/ดอลลาร์ หลังซื้อขายในช่วง 34.22-34.50 โดยการเคลื่อนไหวยังเป็นลักษณะย่ำฐาน sideways โดยเงินดอลลาร์ทรงตัวเทียบกับยูโรและเยนในสัปดาห์ที่ผ่านมา ขณะที่ตลาดมั่นใจมากขึ้นว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) จะปรับขึ้นดอกเบี้ยอีกในการประชุมวันที่ 2-3 พ.ค. อย่างไรก็ตาม เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินซึ่งมีความเชื่อมโยงสูงกับราคาสินค้าโภคภัณฑ์หลังตัวเลขส่วนใหญ่บ่งชี้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯอาจเข้าสู่ภาวะถดถอยและทำให้เฟดขึ้นดอกเบี้ยได้อีกเพียงหนึ่งครั้งก่อนจะหยุดพัก แม้เจ้าหน้าที่เฟดให้ความเห็นว่าจะยังคงปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อไปเพื่อควบคุมภาวะเงินเฟ้อ ทั้งนี้ นักลงทุนในตลาดสัญญาล่วงหน้าคาดว่ามีโอกาสเกือบ 90% ที่เฟดจะขึ้นดอกเบี้ย 25bp สู่ 5.00-5.25% ในวันที่ 3 พ.ค. ทางด้านเงินยูโรได้รับแรงหนุนจากการคาดการณ์ที่ว่าธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) จะขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมวันที่ 4 พ.ค. ซึ่งมีโอกาสที่จะปรับขึ้น 50bp ในรอบประชุมนี้ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติมียอดขายหุ้นและพันธบัตรไทยสุทธิ 3,827 ล้านบาท และ 23,108 ล้านบาท ตามลำดับ สำหรับภาพรวมในสัปดาห์นี้ กลุ่มงานโกลบอลมาร์เก็ตส์ฯ มองว่า ตลาดจะติดตามการประชุมธนาคารกลางญี่ปุ่น (บีโอเจ) ซึ่งคาดว่าจะคงนโยบายตามเดิมในครั้งนี้ […]
อ่านเพิ่มเติม »

อังกฤษเตือนปชช.มีเงินเก็บไม่พอเกษียณ-เสี่ยงเผชิญปัญหาในอนาคต : อินโฟเควสท์อังกฤษเตือนปชช.มีเงินเก็บไม่พอเกษียณ-เสี่ยงเผชิญปัญหาในอนาคต : อินโฟเควสท์สถาบันเพื่อการศึกษาการคลัง (IFS) เปิดเผยว่า แรงงานในอังกฤษเสี่ยงเผชิญปัญหาด้านบำนาญในอนาคต ทั้งนี้ รายงานดังกล่าวได้สรุป “อุปสรรค” ที่คนรุ่นใหม่ในอนาคตต้องเผชิญและเสนอว่า ระบบทั้งหมดจำเป็นต้องได้รับการพิจารณาใหม่อีกครั้ง ข้อมูลระบุว่า ชาวอังกฤษเกือบ 90% ไม่ได้ออมเงินไว้สำหรับกองทุนบำนาญมากพอ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วควรจะอยู่ที่ราว 15% ของรายรับ โดยประชาชนผู้มีรายได้น้อยมีความเสี่ยงเป็นพิเศษ เนื่องจากพวกเขาอาจมีคุณสมบัติไม่ตรงตามข้อกำหนดสำหรับการลงทะเบียนหักเงินสมทบบำนาญโดยอัตโนมัติ รายงานเผยว่า “มีเพียง 44% ของผู้ที่มีรายได้ 5,000-10,000 ปอนด์ (6,200-12,500 ดอลลาร์) ต่อปีเท่านั้นที่ได้เข้าร่วมโครงการบำนาญในปี 2562” เมื่อเทียบกับ 87% ของผู้ที่มีรายได้ปานกลาง (25,000-30,000 ปอนด์) และ 92% ของผู้ที่มีรายได้มากกว่า 50,000 ปอนด์ขึ้นไป ทั้งนี้ เงินบำนาญส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ในระบบบำนาญแบบกำหนดเงินสมทบ (defined contribution program) ซึ่งจำนวนสุดท้ายของเงินดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับจำนวนเงินที่เจ้าของได้สมทบมาตลอดชีวิตและความสำเร็จในการลงทุน ขณะที่อีกทางเลือกหนึ่งซึ่งได้รับความนิยมน้อยกว่าคือ ระบบบำนาญแบบกำหนดผลประโยชน์ทดแทน (defined benefit system) ซึ่งผู้รับบำนาญจะได้รับรายได้หลังเกษียณตามเงินเดือนสุดท้ายและจำนวนปีที่ทำงานให้แก่นายจ้าง รายงานระบุว่า ผู้คนเริ่มเกษียณอายุด้วยระบบบำนาญแบบกำหนดเงินสมทบมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นมากกว่า แต่ก็ทำให้เจ้าของเงินต้องรับผิดชอบในการจัดการการเงินและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องด้วยตนเอง […]
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-15 03:16:20