คุยกับ ‘พีพี’ ดร.พัทน์ ภัทรนุธาพร หนึ่งในคนไทยไม่กี่คนบนถนนสายเทคระดับโลก เขาโลดแล่นอยู่ในแวดวงสายวิทย์และเทคโนโลยี แถมเคยได้รับเชิญให้พูดบนเวที TED x Boston มาแล้ว
อย่างที่บอกในตอนแรก พีพีไม่ได้แค่สนใจแค่มิติใดมิติหนึ่ง หรือแค่เรื่องเทคโนโลยีอย่างเดียว พีพีสนใจความเป็นมนุษย์ ผลงานที่น่าสนใจจึงผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี มนุษย์ จินตนาการ และอิมแพ็คที่เกิดขึ้นคนหนึ่งคือ ศาสตราจารย์ แพตตี้ เมส อาจารย์เป็นผู้บุกเบิกงานด้าน Human-AI Interaction รู้สึกเลยว่าตัวเองเป็นติ่งเขา เหมือนกับที่ใครเป็นติ่ง K-POP พีพีรู้สึกว่าเขาเท่มาก เป็นอาจารย์ เป็นที่ปรึกษาบุคคลสำคัญ สร้างเทคโนโลยีที่เปลี่ยนโลก และเขาก็ไม่ได้หยุดยั้งที่คิดถึงอนาคตซึ่งคือสิ่งที่สนใจ ซึ่งแนวคิดของ...
พีพีชอบยกตัวอย่างการเรียนในไทยและที่อเมริกาอย่างหนึ่ง จากคำว่า “เข้าใจ” เวลาเราเรียนในไทย อาจารย์จะถามว่า การเรียนเข้าใจหรือเปล่า? ซึ่งหมายความว่าเข้าไปอยู่ในใจไหม? จำฝังใจหรือไม่? แต่ที่อเมริกาใช้คำว่า Make sense ซึ่งหมายความว่า สิ่งที่คุณได้ยินมันผ่าน Sense ทั้งหมด แสดงถึงการเรียนรู้ว่าเวลาคุณฟังอะไร มันไม่ใช่แค่เข้าใจ แต่ต้องผ่านการรับรู้ของสติสัมปชัญญะทั้งหมด ต้องคิด ต้องไตร่ตรองแล้วหากจะทำให้การศึกษาไทยเป็นอย่างที่คุณมีประสบการณ์ในต่างประเทศ มองว่าอะไรคือ Key...
แต่ถ้าเราทำสิ่งนี้ให้เป็น Model ทำให้เด็กไทยเห็นมากขึ้น เขาก็จะมีแรงบันดาลใจว่ามันสามารถเกิดขึ้นได้จริง เขามีโอกาสไปทำงานในระดับโลกได้ มันเกิดขึ้นได้ เขาก็จะพยายามที่จะพาตัวเองไป หรือจุดแข็งในเชิงภูมิศาสตร์ ทรัพยากรทางธรรมชาติ วัฒนธรรม ฯลฯ หรือเรื่อง Intellectual Property ที่ต้องเข้มแข็ง อย่าให้เกิดการคิดว่า คิดค้นแล้ว สร้างสรรค์แล้ว ทำแล้วถูกคนก็อปปี้ง่ายๆ ทำแล้วถูกลอก ยิ่งถ้าคนตัวเล็กๆ ทำแล้วถูกคนมีทุนใหญ่ลอก จะไปฟ้องก็ฟ้องร้องก็เหนื่อย เพราะเขามีเงิน มีอิทธิพลมากกว่า
คำว่าสถาบันมันมี 2 แบบ คือ 1. Inclusive institutions ซึ่งเป็นสถาบันที่มอบสิทธิและสิทธิประโยชน์ ที่เท่าเทียมกัน และเปิดโอกาสพลเมืองเข้าถึงทรัพยากรและบริการที่เท่าเทียมกัน กับ 2. Extractive institutions ซึ่งเป็นสถาบันที่ดูดและช่วยจัดสรรทรัพยากรให้คนไม่กี่กลุ่ม พอฟังแล้วเราลองคิดดูครับว่าสถาบันแบบไหนที่เหมาะสมจะทำให้คนในประเทศอยากคิดค้นอะไรที่มันสร้างสรรค์ และเป็นประโยชน์กับอนาคต
การศึกษาไทย MIT พัทน์ ภัทรนุธาพร MIT Media Lab ดร.พีพี Cyborg Psychology
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“ผู้จัดงาน” ออกแถลงการณ์ขอโทษ “พีพี” ปมดราม่า “พิธีเปิด” กินเวลาบรรยายจากกรณีเมื่อวันที่ 10 กุมภพันธ์ 2568 “พีพี-พัทน์ ภัทรนุธาพร” นักวิทยาศาสตร์คนไทยใน MIT Media Lab ของสหรัฐอเมริกา โพสต์ผ่านทางเฟซบุ๊ก Pat Pataranutaporn เล่าถึงกรณีมหาวิทยลัยแห่งหนึ่งในประเทศไทย เชิญให้ zoom มาพูดให้นักศึกษาฟัง แต่กลับจัดช่วงพิธีการธรรมเนียมแบบไทยๆ ยาวมาก จนแทบไม่เหลือเวลาพูดจริงๆ กระทั่งในเวลาต่อมา องค์กรภาคีเครือข่ายผู้จัดงาน SID...
อ่านเพิ่มเติม »
ลงทุน AI อย่างไรไม่ให้พัง? ผลสำรวจเผย 5 จุดที่ต้องระวังก่อนทุ่มงบสำรวจ 5 จุดที่ธุรกิจควรระวัง ก่อนทุ่มงบลงทุน AI เทคโนโลยีที่ไม่มีการตรวจสอบจากมนุษย์ ไม่มีกรอบนโยบายใช้งานที่ชัดเจน อาจนำมาซึ่งความเสี่ยงด้านข้อมูลและการละเมิดลิขสิทธิ์
อ่านเพิ่มเติม »
AI สำรวจ มาร์สเควกแผ่นดินไหวบนดาวอังคาร สั่นสะเทือนลึก แผ่ไปไกลกว่าที่คาดทีมนักวิจัยใช้เทคโนโลยี AI ในการตรวจสอบ“มาร์สเควก” หรือแผ่นดินไหวบนดาวอังคารที่เกิดจากการพุ่งชนของอุกกาบาตต่าง ๆ และค้นพบว่าแรงสั่นสะเทือนเกิดขึ้นได้ลึกและเดินทางไปได้ไกลกว่าที่เคยคาดการณ์เอาไว้ก่อนหน้านี้
อ่านเพิ่มเติม »
โฟกัส 5 พื้นที่ “กรุงเทพฯ” สร้าง “เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์”ท่าเรือคลองเตย, สวนสยาม (มีนบุรี) , อิมแพ็ค เมืองทองธานี และ “แบงค็อกมอลล์” (บางนา) สำรวจ 5 พื้นที่และกลุ่มทุนหลักในไทยที่คาดว่าจะใช้พื้นที่เหล่านี้ในกรุงเทพมหานครผลักดันธุรกิจ “สถานบันเทิงครบวงจร” ในอนาคตอันใกล้เมื่อทุกอย่างพร้อม!
อ่านเพิ่มเติม »
การศึกษาไทย: ความเหลื่อมล้ำและโอกาสบทความวิเคราะห์สถานการณ์การศึกษาในประเทศไทย โดย ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ เผยปัญหความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และเสนอแนวทางการแก้ไข โดยเฉพาะการพัฒนา Transfer Credit ให้โอกาสนักศึกษาในการเปลี่ยนมหาวิทยาลัยเรียนต่อได้ง่ายขึ้น.
อ่านเพิ่มเติม »
Meta ประกาศนโยบาย Frontier AI Framework ควบคุมการพัฒนา AI ป้องกันการใช้งานที่เป็นอันตรายMeta ประกาศนโยบาย Frontier AI Framework ที่เข้มงวดขึ้น เพื่อควบคุมการพัฒนา AI และป้องกันการนำไปใช้ในทางที่อาจก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อสังคม นโยบายนี้แบ่งประเภท AI ออกเป็นสองประเภทตามระดับความเสี่ยง คือ AI ที่มีความเสี่ยงสูง (high risk) และ AI ที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤต (critical risk) โดย Meta จะใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงของ AI ที่ดำเนินการโดยนักวิจัยทั้งภายในและภายนอกบริษัทในการตัดสินใจเกี่ยวกับการพัฒนา AI
อ่านเพิ่มเติม »