ด้วย 'ช่องว่าง' เล็กๆ ที่ประจวบเหมาะกับยุคสมาร์ทโฟน 4G จึงทำให้ธุรกิจ 'ฟู้ด เดลิเวอรี่ แอปพลิเคชัน' (Food Delivery Application) ถือกำเนิดขึ้น!!
จากเงิน 54 บาท ที่"ลูกค้า" จ่าย จะแปลงเป็นค่าอาหาร 35 บาท และค่าส่ง 19 บาท ซึ่ง"ร้านอาหาร" จะได้ค่าอาหารทั้งหมด 35 บาท แต่ต้องหักเป็นค่าคอมมิชชั่นให้กับแอปอีกประมาณ 25% เท่ากับว่า ค่าอาหาร 35 บาท ร้านค้าจะได้ไม่เต็มจำนวน
ส่วน"คนขับ" รายได้จะมาจาก 3 ส่วน คือ ค่าส่งอาหาร 50 บาท, ค่าส่งจากลูกค้า 10 บาท และโปรโมชั่นลูกค้า แต่รายได้ทั้งหมดที่ว่านี้ต้องหักค่าคอมมิชชั่น หรือค่าบริการ ให้กับแอปรวมๆ 30% มาจากค่าส่งอาหาร 15% และค่าส่งจากลูกค้า 15% นั่นเองค่าส่งจากลูกค้า, ค่าคอมมิชชั่นจากร้านอาหาร ~25% และค่าบริการจากคนขับรวมๆ 30%จากเงิน 45 บาท ที่"ลูกค้า" จ่าย จะแปลงเป็นค่าอาหาร 45 บาทเต็มๆ แต่ทีนี้"ร้านอาหาร" จะได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย 45 บาทเลยหรือไม่? แน่นอนว่าไม่ใช่ เพราะในทุกๆ เดือน...
ส่วน"คนขับ" รายได้ตกเป็นชั่วโมง อยู่ที่ราวๆ 20-50 บาท และค่ารอบเริ่มต้นอยู่ที่ 20 บาทต่อรอบ ซึ่งรายได้ตรงนี้ ‘ฟู้ดแพนด้า’ เป็นคนจ่ายให้เหมือนกับ ‘แกร็บฟู้ด’ เมื่อบวกกันแล้วต้องหักภาษีอีก 3%มาถึงแอปที่ 3 ที่มีความแตกต่างกับ 2 แอปแรก ตรงที่มีการจับมือกับ ‘วงใน’ ดังนั้น จาก 126 บาท ที่"ลูกค้า" จ่าย จะแปลงเป็น ค่าอาหาร 35 บาท และค่าส่ง 91 บาท แต่ในส่วนค่าอาหารนั้น"ร้านอาหาร" ต้องหักไปจ่ายให้กับค่าบริการระบบ RMS ของ ‘วงใน’ ซึ่งต้องซื้อเป็นแพ็กเกจและค่าบริการ...
ส่วน"คนขับ" รายได้มากจาก 2 ส่วน คือ ค่าจัดส่งเริ่มต้น 55 บาท และค่าส่งตามระยะทาง ที่คิดกิโลเมตรละ 9 บาท แต่เมื่อรวมรายได้แล้วต้องหักค่าคอมมิชชั่นให้กับแอปอีก 15-30%
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ป.ป.ส.ประสานลาวจับโคเคน 3.5 กก.ป.ป.ส. ร่วมมือทางการข่าวกับ สปป.ลาว จับหญิงโบลิเวียลำเลียงโคเคน 3.5 ก.ก. จากเอธิโอเปียผ่านสุวรรณภูมิ เข้าลาว
อ่านเพิ่มเติม »