ผู้สูงวัยกับโรคกระดูกสันหลังพรุน

ผู้สูงวัย ข่าว

ผู้สูงวัยกับโรคกระดูกสันหลังพรุน
คอลัมนิสต์กริช อึ้งวิฑูรสถิตย์ชีวิตบั้นปลายของชายชรา
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 68 sec. here
  • 7 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 44%
  • Publisher: 63%

ผู้สูงวัยกับโรคกระดูกสันหลังพรุน คอลัมน์ ชีวิตบั้นปลายของชายชรา โดย กริช อึ้งวิฑูรสถิตย์

ได้กลายเป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงวัย อย่างมาก โรคกระดูกพรุน คือภาวะที่มวลกระดูกลดลง และความแข็งแรงของกระดูกเสื่อมสภาพลง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะในกระดูกสันหลัง สะโพก และข้อมือ ส่วนสาเหตุของโรคกระดูกสันหลังพรุนมีอยู่หลายประการ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางร่างกายและพฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้เป็นโรคดังกล่าว เช่น สาเหตุมาจากกรรมพันธุ์ อันนี้ก็คงต้องแล้วแต่บุญนำกรรมแต่งแล้วละครับ สาเหตุที่สองก็มาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน...

อีกสาเหตุหนึ่งคือการขาดสารอาหารที่จำเป็น เช่น แคลเซียมและวิตามินดีที่เป็นสารอาหารสำคัญ ที่มีบทบาทในการสร้างและรักษาความแข็งแรงของกระดูก การขาดสารอาหารเหล่านี้จะทำให้กระดูกเสื่อมเร็วขึ้น ดังนั้นการทานอาหารให้ครบหมวดหมู่ จึงจำเป็นสำหรับผู้สูงวัยเป็นอย่างยิ่ง ผมเห็นเพื่อนหลายท่านที่ใกล้ชิด ชอบทานอาหารเจเป็นประจำ เพราะเกิดจากความเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการต้านทานโรคบางประเภท ผมก็มักจะบอกว่า ถ้าเป็นไปได้ก็เอาแต่พอควรก็น่าจะดีนะครับ ถ้าร่างกายพอรับไหวก็ทานไปเถอะครับ...

ในยุคการแพทย์ที่มีความก้าวหน้ามากแล้ว แพทย์จะมีการวินิจฉัยโรคกระดูกพรุนทำได้โดยการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูก ซึ่งเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการประเมินความหนาแน่นของกระดูก โดยใช้เครื่องมือเฉพาะทาง เช่น Dual-energy X-ray Absorptiometry scan ซึ่งสามารถตรวจพบการสูญเสียมวลกระดูกได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น นอกจากนี้ การตรวจเลือดและปัสสาวะอาจช่วยในการประเมินการเผาผลาญกระดูก

การป้องกันโรคกระดูกพรุน เราสามารถทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการรักษาด้วยยา ซึ่งผมคิดว่าการรักษาด้วยยา คงเป็นหน้าที่ของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ส่วนตัวเราเองก็สามารถทำได้ โดยการใช้หลักทางโภชนาการที่เหมาะสม เช่นการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง ยกตัวอย่างเช่น ดื่มนมและทานโยเกิร์ตเป็นประจำ เลือกทานเนื้อปลาและผักใบเขียว นอกจากนี้ การเสริมด้วยอาหารเสริมแคลเซียมและวิตามินดี ก็อาจจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ไม่สามารถได้รับสารอาหารเพียงพอจากอาหารได้...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

คอลัมนิสต์ กริช อึ้งวิฑูรสถิตย์ ชีวิตบั้นปลายของชายชรา โรคกระดูกพรุน

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

สถานการณ์ในเมียนมาจะจบเมื่อไหร่?สถานการณ์ในเมียนมาจะจบเมื่อไหร่?สถานการณ์ในเมียนมาจะจบเมื่อไหร่? คอลัมน์ เมียงมอง เมียนมา โดยกริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »

ผู้สูงวัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมผู้สูงวัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมผู้สูงวัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม คอลัมน์ ชีวิตบั้นปลายของชายชรา โดย กริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »

สันติภาพสองฝากฝั่งทะเลสันติภาพสองฝากฝั่งทะเลสันติภาพสองฝากฝั่งทะเล คอลัมน์ เมียงมอง เมียนมา โดยกริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »

ลาซิว เมืองเอกของอัพเปอร์ฉานสเตทลาซิว เมืองเอกของอัพเปอร์ฉานสเตทลาซิว เมืองเอกของอัพเปอร์ฉานสเตท คอลัมน์ เมียงมอง เมียนมา โดยกริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »

ปัจจัยที่ทำให้เกิดวิกฤติในเมียนมาปัจจัยที่ทำให้เกิดวิกฤติในเมียนมาปัจจัยที่ทำให้เกิดวิกฤติในเมียนมา คอลัมน์ เมียงมอง เมียนมา โดย กริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »

บทบาทของหม่าอิงจิ่ว อดีตประธานาธิบดีไต้หวันกับความสัมพันธ์ระหว่างจีนสองฟากฝั่งทะเลบทบาทของหม่าอิงจิ่ว อดีตประธานาธิบดีไต้หวันกับความสัมพันธ์ระหว่างจีนสองฟากฝั่งทะเลบทบาทของหม่าอิงจิ่ว อดีตประธานาธิบดีไต้หวันกับความสัมพันธ์ระหว่างจีนสองฟากฝั่งทะเล คอลัมน์ เมียงมอง เมียนมา โดยกริช อึ้งวิฑูรสถิตย์
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-07 04:33:35