ผลวิจัยชี้ตาต้านโควิด 'แพ็กซ์โลวิด'ลดความเสี่ยงตายได้ถึง 70% ระบุลดเสี่ยงที่จะป่วยรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ราว 40% ฐานเศรษฐกิจ
สาระสำคัญคือ ปัจจุบันคาดว่าจะมีประชากรวัยผู้ใหญ่ในไอร์แลนด์ราว 6% ที่กำลังประสบปัญหา Long COVID อาการผิดปกติที่พบบ่อย ได้แก่ อาการอ่อนเพลีย/เหนื่อยล้า อาการหอบเหนื่อย ปัญหาด้านความจำ ปัญหาการนอนหลับ และอาการปวดกล้ามเนื้อ
ข้อมูลต่างๆ จากทั่วโลกนั้นตอกย้ำให้เรารับรู้ว่า การติดเชื้อโควิด-19 นั้นไม่ได้จบชิลๆ แล้วหาย แต่ป่วยรุนแรงได้ ตายได้ สำคัญกว่านั้นคือ อาจเกิดอาการผิดปกติเรื้อรังระยะยาวได้ในทุกระบบของร่างกาย ทั้งสมอง ระบบประสาท หัวใจและหลอดเลือด ระบบต่อมไร้ท่อ ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินอาหาร ฯลฯ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
IMF เผยปี 64 'หนี้ทั่วโลก' ลดลงมากสุดรอบ 70 ปี แต่ยังสูงกว่าก่อนช่วงโควิด แตะ 235 ล้านล้านดอลล์สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2565 ว่า กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ระบุว่า หนี้สาธารณะและหนี้เอกชนทั่วโลกลดลงมากที่สุดในรอบ 70 ปีในปี 2564 หลังจากแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์เนื่องจากผลกระทบของโควิด-19 แต่โดยรวมแล้วยังคงอยู่เหนือระด
อ่านเพิ่มเติม »
IMF เผยทั่วโลกมีหนี้สินลดลง แต่ยังสูงกว่าก่อนโควิดระบาดอยู่มากIMF เปิดเผยว่า หนี้สาธารณะและหนี้เอกชนปรับตัวลดลงมากที่สุดในรอบ 70 ปีเมื่อปี 2564 หลังพุ่งแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์อันเป็นผลจากการระบาดใหญ่ของโรคโควิด-19 แต่ยังถือว่าสูงกว่าก่อนที่โควิด-19 ระบาดอยู่มาก อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
ไม่สะดวกแก่ ! แม่บานเย็น รากแก่น ดึงหน้ากระชากวัย เด้งเต่งตึงเหมือนเด็กลง 20 ปีว้าวววว... แม่บานเย็น ไม่สะดวกแก่ ขอดึงหน้ากระชากวัยดูเด็กลง 20 ปี บานเย็นรากแก่น kapook
อ่านเพิ่มเติม »
สสจ.โคราช เผยผลสุ่มตรวจพบอาหารทะเลปนเปื้อนฟอร์มาลิน 70 จาก 459 ตัวอย่างงานอาหารปลอดภัย สสจ.โคราช เผยผลสุ่มตรวจร้านหมูกระทะ-ตลาดค้าส่ง 148 แห่ง พบ ฟอร์มาลินปนเปื้อน 70 จาก 459 ตัวอย่าง โดยพบมากสุดใน หมึกกรอบ หมึกสด สไบนาง กุ้ง เล็บมือนาง และแมงกะพรุน ไทยรัฐออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
ครม.ไฟเขียวแผนพัฒนาโลจิสติกส์ 66-70 มุ่งลดต้นทุนขนส่งสินค้า : อินโฟเควสท์น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ระบบโลจิสติกส์เป็นกลไกสำคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นประตูการค้าที่สำคัญในอนุภูมิภาคและภูมิภาค โดยขับเคลื่อนผ่าน 5 แนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ดังนี้ 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่ง และสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น 1) สร้างโครงข่ายการเชื่อมโยงการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ระหว่างท่าเรือ รถไฟ ถนน และท่าอากาศยานอย่างครอบคลุม เชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจ พื้นที่อุตสาหกรรม และด่านชายแดนสำคัญ 2) พัฒนาศูนย์บริการโลจิสติกส์และปรับปรุงด่านชายแดนที่สำคัญ 3) บริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานและศูนย์บริการโลจิสติกส์ 4) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 2. ยกระดับมาตรฐานและเพิ่มมูลค่าโซ่อุปทาน เช่น 1) พัฒนาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภาคการเกษตร 2) พัฒนาระบบนิเวศ (Ecosystem) ที่เหมาะสมต่อการเติบโตของผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม 3) การดำเนินการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3. การพัฒนาพิธีการศุลกากร กระบวนการนำเข้า-ส่งออกที่เกี่ยวข้อง และการอำนวยความสะดวกในการขนส่งระหว่างประเทศ เช่น 1) พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลและใช้ประโยชน์จากระบบ National Single Window (NSW) 2) …
อ่านเพิ่มเติม »