ปศุสัตว์ย้ำชัด ASF ไม่แพร่สู่คนและสัตว์อื่น เนื้อหมูปลอดภัยมั่นใจได้

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ปศุสัตว์ย้ำชัด ASF ไม่แพร่สู่คนและสัตว์อื่น เนื้อหมูปลอดภัยมั่นใจได้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 MorningNewsTV3
  • ⏱ Reading Time:
  • 58 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 26%
  • Publisher: 68%

ปศุสัตว์ย้ำชัด ASF ไม่แพร่สู่คนและสัตว์อื่น วอนผู้บริโภคอย่าตระหนก เนื้อหมูปลอดภัยมั่นใจได้ ผู้เลี้ยงหากสงสัย ASF ให้รีบแจ้งเพื่อคุมโรค อ่านข่าว เรื่องเล่าเช้านี้ CH3Plus ข่าวช่อง3

นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่า หลังจากที่มีการยืนยันว่าตรวจพบเชื้อโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร จากการเก็บตัวอย่างในจังหวัดนครปฐมและนำไปสู่การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2565 นั้น กรมปศุสัตว์ได้เร่งประชุมคณะทำงานด้านวิชาการในการป้องกัน ควบคุมและกำจัดโรค ASF ในสุกรร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องแล้ว ซึ่งจะประกาศเขตโรคระบาด ASF ในประเทศไทยและมีการควบคุมการเคลื่อนย้ายในรัศมี 5 กิโลเมตรรอบจุดที่พบโรคทันที รวมทั้งรายงานแจ้งไปยังองค์การสุขภาพสัตว์โลก...

โรค ASF เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งก่อโรคเฉพาะในสัตว์สกุลสุกร คือสุกรและสุกรป่า ถือเป็นโรคอุบัติใหม่ในประเทศไทยซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อน ตัวโรคก่อความรุนแรงมากในสุกรสร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากมีอัตราป่วยในสุกร 100% อัตราตาย 30-100% ในลูกสุกรอัตราตายสูง 80-100% ภายใน 14 วัน ตัวเชื้อไวรัสมีความทนทานในสภาพแวดล้อมสูง ต้องใช้ระยะเวลาถึง 30 นาทีในการทำลายด้วยยาฆ่าเชื้อ สุกรสามารถติดเชื้อได้จากสัมผัสสิ่งคัดหลั่งจากสุกรป่วยหรือสิ่งปนเปื้อน การกินอาหารที่มีเชื้อปนเปื้อน...

ดังนั้น สิ่งสำคัญในการควบคุมการโรคให้สงบได้โดยเร็วต้องอาศัยความร่วมมือจากเกษตรกรกับกรมปศุสัตว์ในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. โรคระบาดสัตว์ พ.ศ.

ท้ายสุดนี้ สำหรับผู้บริโภคขอให้มั่นใจในการบริโภคเนื้อสุกรได้ตามปกติ โดยแนะนำว่าควรเลือกซื้อเนื้อสุกรจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ มีสุขอนามัยการผลิตที่ดีและตรวจสอบย้อนกลับได้ ดังเช่นสถานที่จำหน่ายที่ได้รับรอง “ปศุสัตว์ OK” รวมทั้งปรุงสุกทุกครั้งด้วยอุณหภูมิอย่างน้อย 70 องศาเซลเซียสขึ้นไปก่อนรับประทานเพื่อหลีกเลี่ยงโรคต่างๆ และเพื่อให้ประเทศไทยสามารถควบคุมโรค ASF ในสุกรได้โดยไว หากเกษตรกรพบอาการต้องสงสัยโรค ASF ในสุกรให้รีบแจ้งปศุสัตว์ในพื้นที่ทันทีหรือที่เบอร์ 0632256888 หรือ Application: DLD 4.

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

MorningNewsTV3 /  🏆 1. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

ผู้เชี่ยวชาญยืนยัน 'เมนูหมู' กินได้ปกติ โรค ASF ไม่ติดสู่คนผู้เชี่ยวชาญยืนยัน 'เมนูหมู' กินได้ปกติ โรค ASF ไม่ติดสู่คนสายหมูกระทะยิ้มออก กินได้ปกติ รวมถึงเมนูกะเพรา ลาบ น้ำตก อาจารย์หมอยืนยัน โรค ASF ในหมูไม่ติดต่อสู่คนหรือสัตว์อื่น แต่ถ้าอยากมั่นใจให้ใช้ความร้อน 70 องศา เวลานาน 30 นาที แบบนี้เชื้อตายเรียบ สายหมู หมูกระทะ อาหารปลอดภัย โรคASF ไม่ติดต่อสู่คน
อ่านเพิ่มเติม »

สสจ.แจงปมชาวราชบุรีท้องเสีย ไม่เกี่ยว ASFสสจ.แจงปมชาวราชบุรีท้องเสีย ไม่เกี่ยว ASFสาธารณสุขจังหวัดราชบุรีชี้แจงกรณีมีการนำเสนอข่าวเรื่องคนราชบุรีท้องเสียทั้งจังหวัด โดยพบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ และไม่เกี่ยวข้องกับ โรค ASF ในหมู
อ่านเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรฯ ยืนยันไม่ได้ปกปิดโรค ASF ในหมู เร่งเยียวยาเกษตรกรโดยเร็วกระทรวงเกษตรฯ ยืนยันไม่ได้ปกปิดโรค ASF ในหมู เร่งเยียวยาเกษตรกรโดยเร็วรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคลียร์ชัด ยืนยันไม่ได้ปกปิดโรค ASF ในหมู พร้อมเร่งช่วยเหลือเกษตรกรด่วน เตรียมเยียวยาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยเร็ว
อ่านเพิ่มเติม »

พท.ออกแถลงการณ์จี้รัฐบาลออกประกาศ ASF ใน 'สุกร' ระบาด-สกัดเชื้อแพร่กระจายพท.ออกแถลงการณ์จี้รัฐบาลออกประกาศ ASF ใน 'สุกร' ระบาด-สกัดเชื้อแพร่กระจายพรรคเพื่อไทย ออกแถลงการณ์จี้รัฐบาลออกประกาศอหิวาต์แอฟริกาใน 'สุกร' ระบาด-สกัดเชื้อแพร่กระจาย และจะนำเรื่องที่ปกปิดไปซักฟอกในสภาและยื่นต่อ ป.ป.ช. เพื่อดำเนินคดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »

ศรีสุวรรณ บุกร้องผู้ตรวจฯสอบบริษัทได้ประโยชน์จากการปกปิด ASF ใน 'สุกร'ศรีสุวรรณ บุกร้องผู้ตรวจฯสอบบริษัทได้ประโยชน์จากการปกปิด ASF ใน 'สุกร'เลขาธิการสมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย ศรีสุวรรณ จรรยา ร้องผู้ตรวจราชการแผ่นดินสอบบริษัทใดได้ประโยชน์จากการปกปิดข้อมูลการระบาดของโรคอหิวาต์ใน 'สุกร' ทั้งที่มีรายงานว่าไทยพบหมูติดเชื้อ ASF ตัวแรกในจ.เชียงรายตั้งแต่ปี 2562
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-15 16:54:54