เศรษฐกิจฟื้นตัวหลังโควิด-19 คลี่คลาย ต้นทุนการผลิตพลังงานทั้ง ค่าก๊าซ และค่าไฟฟ้าก็สูงขึ้น ก่อมูลหนี้จำนวนมหาศาลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนสุดท้ายภาระที่เกิดขึ้นก็ตกอยู่กับประชาชนที่หาเช้ากินค่ำ ซึ่งเป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ของประเทศ อ่านต่อ:
ปี 2565 ต้องบอกว่า เป็นปีแห่งวิกฤติ แม้สถานการณ์โรคระบาดจะอ่อนกำลังลง แต่ความเปลี่ยนแปลงหลังยุคโรคระบาด กลับกลายเป็นช่องโหว่ ก่อให้เกิดวิกฤติซ้อนวิกฤติเพิ่มขึ้น วิกฤติพลังงาน เป็นเรื่องใหญ่ที่ประเทศไทยยังต้องรับมือจากราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นมาก กระทบเป็นทอดๆ จากภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจ ไปจนถึงค่าครองชีพ โดยเฉพาะเมื่อ
แน่นอนว่า ปี 2566 ที่กำลังจะมาถึงอีกไม่กี่วันข้างหน้า คาดว่า สถานการณ์ความผันผวนด้านพลังงานจะยังคงอยู่ และยังต้องติดตามสถานการณ์พลังงานอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารจัดการพลังงานให้มีปริมาณเพียงพอกับแนวโน้มความต้องการใช้พลังงานที่จะเพิ่มขึ้น จากการที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยจะขยายตัว 3-4% จากการฟื้นตัวของการท่องเที่ยว การบริโภค การลงทุน และการผลิตภาคเกษตร ซึ่งการใช้พลังงานเป็นสิ่งสำคัญ แม้จะดูเหมือนว่า สถานการณ์กำลังปรับตัวไปในทิศทางที่เป็นบวก...
ภาวะวิกฤติซ้อนวิกฤติเริ่มเห็นผลกระทบชัดเจนขึ้น จากความคาดหวังว่า การส่งออกที่ขยายตัวอย่างร้อนแรงในช่วงครึ่งแรกของปี 2565 ก็มีแนวโน้มชะลอตัวลงจากเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัว ขณะที่การท่องเที่ยวมีแนวโน้มฟื้นตัวได้น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ สถานการณ์ของวิกฤติพลังงาน จึงกำลังกลายเป็นระเบิดลูกใหญ่ของรัฐบาล และเมื่อวิกฤติพลังงานยังไม่คลี่คลายในเวลาอันใกล้ ขณะที่ ทั่วโลกต่างเดินหน้าเปิดโหมดประหยัดพลังงานอย่างเต็มที่ รัฐบาลไทยต้องมีมาตรการที่แหลมคม ชัดเจน...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
หนุนสุดตัว! หวัง 'วัน พอร์ต แลนด์บริดจ์' พลิกด้ามขวานไทยสู่ด้ามขวานทอง : อินโฟเควสท์นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรมว.สาธารณสุข ในฐานะหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย กล่าวถึงนโยบายการหาเสียงในการเลือกตั้งครั้งหน้าว่า นโยบายของพรรคภูมิใจไทย ต้องต่อยอดกับสิ่งที่ทำสำเร็จแล้ว โดยในช่วงที่มีการระบาดของโควิด-19 ประชาชนหยุดกิจกรรมต่างๆ แต่พรรคยังเดินหน้าโครงการต่างๆ เพื่อยกระดับระบบสาธารณูปโภค ระบบคมนาคมให้ดีขึ้น เพราะเมื่อโควิด-19 ผ่านพ้นไป ประชาชนจะกลับมาใช้ชีวิต ดังนั้นระบบของเราจะต้องพร้อมที่สุด อีกทั้งถ้ามองว่าโควิด 19 ทำให้ต้องหยุดทุกอย่างตามไปด้วย ก็เท่ากับปิดโอกาสที่จะอัดฉีดเงินหมุนเวียนเข้าไปในวงจรเศรษฐกิจ ดังนั้น เมื่อโควิด-19 คลี่คลาย ไทยจะกลายเป็นประเทศที่มีความพร้อมมากที่สุดประเทศหนึ่ง นอกจากนั้น การที่ควบคุมดูแลสถานการณ์โควิด-19 ได้ดี ดูแลทั้งคนไทย และต่างชาติได้ดี จึงเป็นแรงดึงดูดให้นักลงทุนเลือกไทยเป็นที่ตั้งฐานการผลิต เพราะมีความมั่นใจในระบบสุขภาพ อีกทั้งยังเห็นแล้วว่าระบบสาธารณูปโภคของไทยมีความก้าวหน้า พร้อมระบุว่า สิ่งที่อยากทำ หากมีโอกาส คือการยกระดับงานคมนาคมของไทยที่อยู่ตรงกลางอาเซียน สร้างระบบขนส่งที่เชื่อมต่อไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน เราต้องเป็นหัวจ่ายที่สามารถกระจายสินค้าไปได้ทุกทิศ อดีตที่ผ่านมา แนวคิดเรื่อง “คอคอดกระ” ก็มีข้อถกเถียงเรื่องตัดแผ่นดิน มีข้อถกเถียงเรื่องความมั่นคง ทำให้ต้องหาทางศึกษาแนวทางใหม่ จึงได้ศึกษาโครงการวัน พอร์ต แลนด์ บริดจ์ และมองว่าควรจะเชื่อมจังหวัดชุมพรกับจังหวัดระนอง ซึ่งเป็นการเชื่อมฝั่งอันดามันกับฝั่งอ่าวไทย ระยะทาง 90 กิโลเมตร ช่วยประหยัดเวลาขนส่ง […]
อ่านเพิ่มเติม »
เจาะงบลงทุนเมกะโปรเจกต์คมนาคมปี 2566 โค้งสุดท้ายรัฐบาลลุยเทกระจาดกว่า 1.24 แสนล้านเปิดศักราชใหม่ 2566 หลังสถานการณ์ โควิด-19 คลี่คลาย รัฐบาลพยายามเดินหน้าการลงทุนในทุกเซ็กเตอร์เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายและเศรษฐกิจของประเทศอย่างเต็มกำลัง ซึ่งการลงทุนของหน่วยงานภาครัฐและรัฐสาหกิจ โดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม
อ่านเพิ่มเติม »
Awakening Bangkok 2022 เพื่อพรุ่งนี้และตลอดไปสกู๊ปหน้า1 Awakening Bangkok 2022 เพื่อพรุ่งนี้และตลอดไป AwakeningBangkok2022
อ่านเพิ่มเติม »