นับถอยหลังชม 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' โคจรใกล้โลกอีกครั้ง 80,660 ปี

ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส ข่าว

นับถอยหลังชม 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' โคจรใกล้โลกอีกครั้ง 80,660 ปี
ดาวหางใกล้โลกรู้จักดาวหางสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
  • 📰 ThaiPBS
  • ⏱ Reading Time:
  • 39 sec. here
  • 21 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 85%
  • Publisher: 51%

นับถอยหลังชม 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับดาวหางดวงนี้กับ 10 เรื่องที่น่าสนใจ พร้อมแชร์การหาตำแหน่งดาวหาง ในช่วงโค้งสุดท้าย ทำอย่างไรจึงจะสังเกตได้ ขณะที่ปลายเดือนลุ้นชม 'ดาวหางดวงใหม่' ที่คาดจะโคจรใกล้โลก 24 ต.ค.

นับถอยหลังชม " ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส " เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับดาวหางดวงนี้กับ 10 เรื่องที่น่าสนใจ พร้อมแชร์การหา ตำแหน่งดาวหาง ในช่วงโค้งสุดท้าย ทำอย่างไรจึงจะสังเกตได้ ขณะที่ปลายเดือนลุ้นชม "ดาวหางดวงใหม่" ที่คาดจะโคจรใกล้โลก 24 ต.ค.

ขณะดาวหางกำลังโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ จะได้รับรังสีพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์จนทำให้ปลดปล่อยฝุ่น และแก๊ส ออกมามาก เกิดเป็นหางที่พุ่งยาวไปในอวกาศได้ไกลหลายล้านกิโลเมตร 8. ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส โคจรเข้าใกล้โลกมากที่สุดในวันที่ 13 ต.ค. ที่ระยะห่าง 70.6 ล้านกิโลเมตร ซึ่งเป็นช่วงที่ดาวหางจะมีความสว่างปรากฏบนท้องฟ้ามากที่สุด และเป็น วันที่เหมาะสมแก่การสังเกตการณ์ที่สุด ก่อนที่จะโคจรออกห่างจากโลกไปเรื่อย ๆ 10. วันเสาร์ที่ 19 ต.ค. ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส กำลังโคจรออกห่างจากโลกไป พร้อมความสว่างปรากฏที่ค่อย ๆ ลดลง แต่ก็ยังไม่สายเกินไปที่จะได้เห็น เพราะยังคงสังเกตการณ์ได้จนถึงช่วงประมาณปลายเดือน ต.ค.

ภาพจาก : สมาคมดาราศาสตร์ไทย แผนที่แสดงตำแหน่งดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัสเทียบกับดาวฤกษ์ระหว่างวันที่ 12–31 ตุลาคม 2567 เวลาประมาณ 45 นาที หลังดวงอาทิตย์ตก

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

ThaiPBS /  🏆 52. in TH

ดาวหางใกล้โลก รู้จักดาวหาง สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ สมาคมดาราศาสตร์ไทย C/2023 A3 Tsuchinshan-ATLAS วิธีดูดาวหาง ดาวหางจื่อจินซาน เทคนิคหาตำแหน่งดาวหาง ดาวหางแอตลัส ดูดาว2567 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์2567 ดาวหาง คืออะไร ข่าววันนี้ ข่าวล่าสุด ข่าววันนี้ล่าสุด กล้องโทรทรรศน์ ATLAS ตำแหน่งดาวหาง

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

ดาวหาง 'จื่อจินซาน-แอตลัส ' ใกล้โลก 13 ต.ค.พลาดรอ 80,660 ปีดาวหาง 'จื่อจินซาน-แอตลัส ' ใกล้โลก 13 ต.ค.พลาดรอ 80,660 ปีลุ้นชม 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' โคจรใกล้โลกมากที่สุด13 ต.ค.นี้โดยจะมีความสว่างจนมองเห็นด้วยตาเปล่า ระยะห่าง 70.6 ล้านกิโลเมตร พลาดชมต้องรออีกทีใน 80,660 ปีข้างหน้า วันนี้ (29 ก.ย.2567) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARIT) ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส (Tsuchinshan-ATLAS) หรือ C/2023 A3 ยังคงเหลือรอดออกมา หลังโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดเมื่อ 28 ก.ย.
อ่านเพิ่มเติม »

'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' เหนือฟ้าเมืองไทย ยังดูได้ ก่อนจากไปไกล 8 หมื่นปี'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' เหนือฟ้าเมืองไทย ยังดูได้ ก่อนจากไปไกล 8 หมื่นปีเปิดภาพความสวย 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' เหนือฟ้าเมืองไทย ดูได้จนถึงสิ้นเดือน ตุลาคม ก่อนจากไปไกล 8 หมื่นปี
อ่านเพิ่มเติม »

สวยงามมาก สดร. เผยภาพดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส เหนือฟ้าเมืองไทย ในวันใกล้โลกที่สุดสวยงามมาก สดร. เผยภาพดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส เหนือฟ้าเมืองไทย ในวันใกล้โลกที่สุดสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) หรือ NARIT เผยภาพ 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' เหนือฟ้าเมืองไทย ในวันใกล้โลกที่สุด มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดยหลังจากนี้ จะยังคงสังเกตการณ์ได้จนถึงช่วงปลายเดือน ต.ค.
อ่านเพิ่มเติม »

ส่องปรากฏการณ์ท้องฟ้า เดือนตุลาคม 2567ส่องปรากฏการณ์ท้องฟ้า เดือนตุลาคม 2567ท้องฟ้าเดือน ตุลาคม 2567 มีอะไรที่น่าติดตามบ้าง ทั้ง ดาวหาง 'จื่อจินซาน-แอตลัส ' ใกล้โลก หากพลาดชมต้องรออีกทีใน 80,660 ปีข้างหน้า และ ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลก ในเดือน ตุลาคม 2567 ท้องฟ้ายามค่ำคืนจะมีปรากฏการณ์ทาง 'ดาราศาสตร์' ที่น่าสนใจเกิดขึ้นบ้าง สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.
อ่านเพิ่มเติม »

ใครเห็นบ้าง 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' พาดยาวค้างท้องฟ้าใครเห็นบ้าง 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' พาดยาวค้างท้องฟ้าใครเห็นบ้าง? A3 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' โคจรใกล้โลกยังมีโอกาสมองเห็นได้จนถึงสิ้นเดือนต.ค.นี้ แนะเห็นเส้นจาง ๆ พาดยาวค้างอยู่บนท้องฟ้าช่วงหัวค่ำ ทางทิศตะวันตก โลกออนไลน์พากันแชร์ภาพและคลิป ดาวหาง 'จื่อจินซาน-แอตลัส ' ใกล้โลก 13 ต.ค.
อ่านเพิ่มเติม »

13 ต.ค.นี้ ชวนดู 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' สังเกตเห็นด้วยตาเปล่า13 ต.ค.นี้ ชวนดู 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' สังเกตเห็นด้วยตาเปล่าสดร. ชวนจับตา 'ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส' ปรากฎการณ์หาดูได้ยาก สังเกตได้ทางทิศตะวันตกหลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า คาดสว่างจนมองเห็นด้วยตาเปล่า 13 ตุลาคมนี้
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-13 04:02:54