นักวิชาการเตือน “หมูเถื่อน” อาจปนเปื้อนทั้งเชื้อดื้อยา-สารตกค้างที่มากกว่าสารเร่งเนื้อแดง

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

นักวิชาการเตือน “หมูเถื่อน” อาจปนเปื้อนทั้งเชื้อดื้อยา-สารตกค้างที่มากกว่าสารเร่งเนื้อแดง
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 93 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 41%
  • Publisher: 63%

นักวิชาการเตือน “หมูเถื่อน” อาจปนเปื้อนทั้งเชื้อดื้อยา-สารตกค้างที่มากกว่าสารเร่งเนื้อแดง สยามรัฐ siamrathonline สยามรัฐออนไลน์ ข่าววันนี้ หมูเถื่อน สารเร่งเนื้อแดง

รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึง สถานการณ์การลักลอบนำเข้าหมูเถื่อนเข้าสู่ประเทศไทยที่ยืดเยื้อมาตั้งแต่ต้นปี จนกระทั่งถึงปัจจุบันว่ากำลังส่งผลให้มีปริมาณหมูที่ไม่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพที่รวมถึงเเบคทีเรียก่อโรค สารตกค้างหรือสารปนเปื้อนต่างๆ เข้ามากระจายสู่ผู้บริโภคชาวไทยเป็นจำนวนมาก...

“นอกเหนือจากอันตรายจากสารเร่งเนื้อแดงที่หลายประเทศต้นทางหมูเถื่อนอาจยังมีการอนุญาตให้ใช้ได้ ปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผล นับเป็นอีกปัจจัยอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม ทั้งนี้เนื่องจากประเทศต้นทางหมูเถื่อน เช่น บางประเทศในแถบอเมริกาใต้ ยังคงมีการนำโคลิสตินซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะทางเลือกสุดท้ายสำหรับมนุษย์ มาใช้ในการเลี้ยงสัตว์เพื่อควบคุมและป้องกันโรค และอาจทำให้เชื้อดื้อยาโคลิสตินปะปนมาในเนื้อสัตว์ ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องมาถึงผู้บริโภคได้” ศ.สพ.ญ.ดร.

เชื้อดื้อยาคือ แบคทีเรียที่สามารถต่อต้านยาปฏิชีวนะ ทำให้การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อเหล่านี้ไม่ได้ผลดีดังเดิม อาจต้องใช้เวลารักษานานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาแพงขึ้น หรือผู้ป่วยอาจเสี่ยงเสียชีวิตมากขึ้น แม้สาเหตุหลักประการหนึ่งของเชื้อดื้อยาจะมาจากพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้ป่วยเอง เช่น การซื้อยาปฏิชีวนะใช้เอง หรือการกินยาไม่ครบตามที่แพทย์สั่ง แต่ผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาจากการบริโภคเนื้อสัตว์ได้เช่นกัน ดังนั้นการเลือกบริโภคเนื้อหมูที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพอย่างถูกต้อง...

ที่ผ่านมา ประเทศไทยให้ความสำคัญกับกระบวนการเลี้ยงสัตว์ภายใต้ความปลอดภัยทางอาหาร ควบคู่การจัดการตามมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ และการเฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” ซึ่งเป็นหนึ่งในแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ เพื่อให้สัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ผู้บริโภคได้รับอาหารที่ดี ปลอดภัย รวมถึงสิ่งแวดล้อมปลอดภัยด้วย ดังเช่น ผู้ผลิตอาหารของไทยที่ได้มาตรฐานและคำนึงถึงการลดปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคนและในสัตว์...

“กระบวนการเลี้ยงสุกรของไทย มีขั้นตอนการตรวจสอบแบคทีเรียก่อโรคอาหารเป็นพิษที่สำคัญและสารตกค้าง ทั้งที่ฟาร์ม โรงชำแหละ จนถึง ณ จุดขาย เป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภคที่จะได้บริโภคเนื้อหมูที่ปลอดภัย ดังนั้น เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงหมูเถื่อนที่ลักลอบเข้าประเทศไทยโดยปราศจากการตรวจโรคหรือสารตกค้างใดๆ ควรเลือกซื้อเนื้อหมูจากแหล่งที่เชื่อถือได้ หรือพิจารณาง่ายๆ จากจุดจำหน่ายที่มีสัญลักษณ์ ปศุสัตว์ OK รวมถึงการสังเกตว่าเนื้อหมูนั้นต้องไม่มีราคาถูกผิดปกติ...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

นักวิชาการเตือน 'หมูเถื่อน' สารปนเปื้อนเพียบนักวิชาการเตือน 'หมูเถื่อน' สารปนเปื้อนเพียบนักวิชาการเตือน 'หมูเถื่อน' อาจปนเปื้อนทั้งเชื้อดื้อยาและสารตกค้างที่มากกว่าสารเร่งเนื้อแดง
อ่านเพิ่มเติม »

นักวิชาการเตือน 'หมูเถื่อน' สารปนเปื้อนเพียบนักวิชาการเตือน 'หมูเถื่อน' สารปนเปื้อนเพียบนักวิชาการเตือน 'หมูเถื่อน' อาจปนเปื้อนทั้งเชื้อดื้อยาและสารตกค้างที่มากกว่าสารเร่งเนื้อแดง
อ่านเพิ่มเติม »

เปิดพิกัดพื้นที่เฝ้าระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำล้นตลิ่ง วันนี้ 17 ต.ค. เช็คเลยเปิดพิกัดพื้นที่เฝ้าระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำล้นตลิ่ง วันนี้ 17 ต.ค. เช็คเลยอัพเดทพื้นที่ทั่วไทยมีจังหวัดไหน อำเภอใดบ้าง ต้องเฝ้าระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่ง น้ำท่วมขัง และคลื่นลมแรง วันที่ 17 ต.ค. 65
อ่านเพิ่มเติม »

อัปเดต!! เส้นทางพายุ 'เนสาท' จ่อเข้าเวียดนาม 20-21 ต.ค.นี้ อาจมีฝนในไทยอัปเดต!! เส้นทางพายุ 'เนสาท' จ่อเข้าเวียดนาม 20-21 ต.ค.นี้ อาจมีฝนในไทย17 ต.ค.65 กรมอุตุนิยมวิทยา เตือนอิทธิพลพายุเนสาท ที่จ่อเคลื่อนเข้าเวียดนาม 20-21 ต.ค.นี้ อาจส่งอิทธิพลฝนในไทย อัปเดตเส้นทางพายุเนสาท (NESAT) พายุโซนร้อนรุนแรง ศูนย์กลางอยู่บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 100 กม./ชม.
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-03 07:01:02