TDRI แนะรัฐหยุดแทรกแซงราคาน้ำมันดีเซล ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกลตลาด หลังมาตรการจะสิ้นสุด 19 เม.ย.นี้ และหาจังหวะเก็บเงินเข้ากองทุนเพื่อล้างหนี้ หลังกองทุนฯแบกหนี้อ่วม สะเทือนจัดเก็บรายได้รัฐพลาดเป้า ชงขึ้น VAT เป็น 10% สร้างรายได้ใหม่เข้ารัฐ
ดร.นณริฏ พิศลยบุตร นักวิชาการอาวุโส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กล่าวว่า รัฐบาลไม่ควรต่ออายุมาตรการลดภาษีสรรพาสามิตน้ำมันดีเซล 1 บาทต่อลิตร ที่มาตรการจะสิ้นสุดวันที่ 19 เม.ย.นี้ เนื่องจากมองว่า การแทรกแซงราคาน้ำมันของรัฐบาลทำให้ภาระหนี้ของกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นสูงมาก ซึ่งการอุ้มภาษีน้ำมันดีเซล 3 เดือนที่ผ่านมา คือ ตั้งแต่ 20 ม.ค.-19 เม.ย.
อย่างไรก็ดี การเข้าไปแทรกแซงทำให้ราคาน้ำมันดีเซลถูกลงกว่าราคาตลาดโลกอย่างถาวรเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ เพราะว่าจะเป็นการแทรกแซงกลไกตลาด ทำให้ราคาถูกกว่าที่ควรจะเป็น เป็นการส่งสัญญาณที่ผิดทำให้สังคมมีการใช้น้ำมันดีเซลมากเกินควร และซ้ำร้าย ภาระหนี้ที่เกิดขึ้นจากการแทรกแซงไม่ได้หายไปไหน แต่ต้องเป็นภาระทางการคลังให้กับผู้เสียภาษีทุกคนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือซ่อนเอาไว้เป็นหนี้สาธารณะให้ลูกหลานในอนาคตต้องมาตามใช้หนี้“รัฐควรเลิกการแทรกแซง ปล่อยให้ราคาเป็นไปตามกลไกตลาด...
ส่วนแนวทางการปล่อยให้ราคาน้ำมันดีเซลลอยตัวนั้น อาจทำให้ราคาเกิดการผันผวนมากจนเกินไป การที่ไทยมีกลไกกองทุนพลังงานมาช่วยลดความผันผวน ก็น่าจะใช้กลไกให้ถูกต้อง คือ การคาดการณ์ราคาที่เหมาะสมในระยะยาว และใช้การแทรกแซงเมื่อราคาผันผวนมากกว่าราคาดังกล่าวสำหรับ ฐานะกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง สุทธิ ณ วันที่ 24 มีนาคม 2567 ติดลบ 98,220 ล้านบาท แบ่งเป็นบัญชีน้ำมันติดลบ 51,136 ล้านบาท บัญชีก๊าซ LPG ติดลบ 47,084 ล้านบาทนอกจากนี้ ดร.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
3 แบรนด์ ‘ปิดกิจการ’ ลาไทย ทำไมเบเกอรีญี่ปุ่นไปต่อไม่รอด?เกิดอะไรขึ้นกับเบเกอรีญี่ปุ่น ที่เคยสร้างปรากฏการณ์ห้างแตก “Gram Pancakes-Pablo Cheesetart” นักวิชาการ ชี้ เป็นกระแสหวือหวา-ประคองตัวยาก คนไทยไม่นิยมกินขนมมื้อหนัก ยก “After You” แบรนด์ไทยปรับตัวไว มีสีสัน ทำลูกค้าสนุก-ตื่นเต้นมากขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »
'ก้าวหน้า-ไอลอว์' ส่งคนชิง สว.สกัดขั้วอำนาจเก่า สื่อ-นักวิชาการเพียบ'คณะก้าวหน้า-ไอลอว์' ลุยส่งคนชิงเก้าอี้ สว.สกัด 'ขั้วอำนาจเก่า' จ่อเปิดตัว 27 มี.ค. มี 'นักวิชาการ-สื่อ' เพียบ เฟ้นหาคนส่งประกบศึกเลือก สว.ทั่วประเทศ ลุยสู้ดันวาระแก้รัฐธรรมนูญ-ลดอำนาจองค์กรอิสระ
อ่านเพิ่มเติม »
นักวิชาการ-เกษตรกร แนะรอบรู้เรื่องเทคโนโลยีและการวิจัยเป็น 'ทางรอด รับมือ เอลนีโญ'จากปรากฏการณ์ 'เอลนีโญ' ที่รุนแรงขึ้น ได้สร้างความร้อนและแห้งแล้งรุนแรงมากกว่าปกติโดยเริ่มขึ้นแล้วในปี 2566 และส่งผลกระทบยาวนานอย่างน้อยถึงกลางปี 2567 ซึ่งคาดการณ์ว่า “เอลนีโญ” ในปีนี้จะหนักขึ้นและสร้างความเสียหายต่อผลผลิตทางการเกษตร ดังนั้น การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 62 สาขาพืช จึงจัดเสวนาพิเศษในหัวข้อ “ทางรอด รับมือ...
อ่านเพิ่มเติม »
นักวิชาการ ร่วมระดมสมอง “ผ่าทางตันการเรียนการสอนรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์”เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีการจัดเสวนาในหัวข้อ “ผ่าทางตันการเรียนการสอนรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์” เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยวิทยากรประกอบด้วยคณาจารย์จากหลากหลายสถาบัน...
อ่านเพิ่มเติม »
นักวิชาการ ชี้ระบบนิเวศทางทะเลช่วยดูดซับคาร์บอนให้อยู่ในรูป blue carbonสืบเนื่องจากเวทีการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 62 ภายใต้ธีม “ศาสตร์แห่งแผ่นดินเพื่อเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนและความเป็นกลางทางคาร์บอน”สาขาประมง คณะประมงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้จัดสัมมนาพิเศษ เรื่อง Frontier Research and Technology in Fisheries and Aquaculture Toward Carbon Neutrality หรือ...
อ่านเพิ่มเติม »
นักวิชาการ มหิดล แนะใช้ “กระบวนการตามสอบย้อนกลับ” ช่วยให้กินผัก-ผลไม้สบายใจ ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างรศ.ดร.
อ่านเพิ่มเติม »