นวัตกรรม “เห็ดสายพันธุ์ใหม่ของกรมวิชาการเกษตร”

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

นวัตกรรม “เห็ดสายพันธุ์ใหม่ของกรมวิชาการเกษตร”
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 30 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 15%
  • Publisher: 63%

นวัตกรรม “เห็ดสายพันธุ์ใหม่ของกรมวิชาการเกษตร”

“การเพาะเห็ด” เป็นอาชีพหลักของเกษตรกรในแทบทุกภาคของประเทศไทย เนื่องจากสามารถสร้างรายได้เป็นอย่างดีไม่น้อยกว่าพืชผักชนิดอื่น จึงทำให้เกิดการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมการเพาะเห็ด “กลุ่มวิจัยและพัฒนาเห็ด สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ” หน่วยงานในสังกัดกรมวิชาการเกษตร ได้มีการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์โดยวิธีการคัดเลือก และปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดลูกผสมของกรมวิชาการเกษตร...

ปัจจุบันกรมวิชาการเกษตร พร้อมให้บริการเชื้อพันธุ์เห็ดบริสุทธิ์ที่มีคุณภาพ ทั้งสิ้น 27 ชนิด 41 สายพันธุ์ ให้กับเกษตรกรและผู้ประกอบธุรกิจเห็ดที่สนใจ ทั้งนี้การดำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนาเชื้อพันธุ์เห็ดของกรมวิชาการเกษตรยังคำนึงถึงความต้องการของเกษตรกรและความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ในแต่ละภูมิภาคเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรผู้ใช้ประโยชน์ โดยกรมวิชาการเกษตรมีเห็ดสายพันธุ์ใหม่ที่มีลักษณะดีมีความโดดเด่นหลายสายพันธุ์ให้ผลผลิตสูง เนื้อแน่น สีของดอกตรงความต้องการของตลาด ได้แก่มีลักษณะเด่น คือให้ผลผลิตเฉลี่ย 126-211 กรัม/ก้อน ดอกเห็ดมีสีเทา ออกดอกเป็นกลุ่ม 2-16 ดอก/ช่อ...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

กฟผ. เร่งเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน ช่วยไทยบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนกฟผ. เร่งเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน ช่วยไทยบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนวฤต รัตนชื่น ผู้ช่วยผู้ว่าการวิจัย นวัตกรรม และพัฒนาธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ชี้พลังงานหมุนเวียนต้องมาพร้อมระบบกักเก็บ เร่งเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนรองรับความผันผวน
อ่านเพิ่มเติม »

“กทท.” ปลุกท่าเรืออัจฉริยะ ขึ้นแท่นท่าเรือมาตรฐานโลก“กทท.” ปลุกท่าเรืออัจฉริยะ ขึ้นแท่นท่าเรือมาตรฐานโลก“กทท.” เดินหน้าปั้นท่าเรืออัจฉริยะ ดึงเทคโนโลยี-นวัตกรรม แก้ปัญหาจราจรติดขัดภายในท่าเรือ ตั้งเป้ายกระดับสู่ท่าเรือกรีนพอร์ต เตรียมขึ้นแท่นสู่ท่าเรือมาตรฐานโลก
อ่านเพิ่มเติม »

เยี่ยมชม ‘ศูนย์ฝึกทักษะการแพทย์ธรรมศาสตร์’ เพิ่มขีดความสามารถ ‘กำลังคนด้านสุขภาพ’ ด้วย ‘เทคโนโลยี-นวัตกรรม’ ขั้นสูงสุดเยี่ยมชม ‘ศูนย์ฝึกทักษะการแพทย์ธรรมศาสตร์’ เพิ่มขีดความสามารถ ‘กำลังคนด้านสุขภาพ’ ด้วย ‘เทคโนโลยี-นวัตกรรม’ ขั้นสูงสุดอาคารล้ำสมัยสูง 8 ชั้น บนเนื้อที่ใช้สอยมากกว่า 3.2 หมื่นตารางเมตร ที่อัดแน่นไปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์มาตรฐานสากล ซึ่งอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ศูนย์รังสิต
อ่านเพิ่มเติม »

กฟผ. เร่งเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน ช่วยไทยบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนกฟผ. เร่งเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน ช่วยไทยบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนวฤต รัตนชื่น ผู้ช่วยผู้ว่าการวิจัย นวัตกรรม และพัฒนาธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ชี้พลังงานหมุนเวียนต้องมาพร้อมระบบกักเก็บ เร่งเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนรองรับความผันผวน
อ่านเพิ่มเติม »

“กทท.” ปลุกท่าเรืออัจฉริยะ ขึ้นแท่นท่าเรือมาตรฐานโลก“กทท.” ปลุกท่าเรืออัจฉริยะ ขึ้นแท่นท่าเรือมาตรฐานโลก“กทท.” เดินหน้าปั้นท่าเรืออัจฉริยะ ดึงเทคโนโลยี-นวัตกรรม แก้ปัญหาจราจรติดขัดภายในท่าเรือ ตั้งเป้ายกระดับสู่ท่าเรือกรีนพอร์ต เตรียมขึ้นแท่นสู่ท่าเรือมาตรฐานโลก
อ่านเพิ่มเติม »

'ดีพร้อม' ติดอาวุธสินค้าเกษตรอัพสกิลสู่เกษตรอุตฯอัจฉริยะ คาดสร้างมูลค่า ศก.กว่า 130 ล้าน-มอบรางวัลต้นแบบเทคโนโลยีอัจฉริยะ'ดีพร้อม' ติดอาวุธสินค้าเกษตรอัพสกิลสู่เกษตรอุตฯอัจฉริยะ คาดสร้างมูลค่า ศก.กว่า 130 ล้าน-มอบรางวัลต้นแบบเทคโนโลยีอัจฉริยะกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม เดินหน้ายกระดับสินค้าเกษตรสู่เกษตรอุตสาหกรรม พร้อมมุ่งเน้นผลักดันการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ภูมิปัญญา กระบวนการผลิตเกษตรอุตสาหกรรมอัจฉริยะให้แก่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและวิสาหกิจชุมชนให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ พร้อมผลักดันการใช้เทคโนโลยีเกษตรอุตสาหกรรมอัจฉริยะผ่านการประกวด DIPROM Agro-Machinery Award 2023 สร้างต้นแบบผู้ประกอบการการใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ คาดสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจกว่า 130 ล้านบาท นายใบน้อย สุวรรณชาตรี อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมหรือดีพร้อมเปิดเผยว่า เกษตรอุตสาหกรรมถือเป็นกลไกสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยรัฐบาลได้ให้ความสำคัญ
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-20 03:14:47