ธปท. เผยหนี้ครัวเรือนไทยพุ่ง 86.8% ต่อ GDP เร่งวางแนวทางแก้ไขหวั่นฉุดการขยายตัวของเศรษฐกิจลุกลาม SanookMoney Sanook
นายจิตเกษม พรประพันธ์ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายส่งเสริมความรู้ทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย กล่าวว่า หนี้ครัวเรือนไทย หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังและยั่งยืน จะสร้างปัญหาที่รุนแรงและส่งผลกระทบต่อประเทศโดยรวม ทั้งฉุดรั้งการขยายตัวของเศรษฐกิจ เพราะรายได้ส่วนใหญ่ ลูกหนี้ต้องนำไปจ่ายคืนหนี้แทนการใช้จ่ายทั่วไปในชีวิตประจำวัน, เสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน ซึ่งหากลูกหนี้จำนวนมาก ไม่สามารถชำระหนี้ได้ก็จะกระทบต่อฐานะเจ้าหนี้ ปัญหาหนี้เสียจะลุกลามจนกลายเป็นวิกฤต และเกิดปัญหาด้านอื่นๆ ตามมา เช่น...
1. หนี้เสียที่มีอยู่ในปัจจุบัน : เร่งรัดการปรับโครงสร้างหนี้ตามมาตรการแก้หนี้ระยะยาว การกำหนดให้เจ้าหนี้ต้องมีบริการให้คำปรึกษาแก้หนี้ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของลูกหนี้ การสร้างตัวช่วยลูกหนี้ โดยให้มีคนกลางทำหน้าที่ให้คำแนะนำด้านการแก้หนี้และไกล่เกลี่ยหนี้ และการผลักดันให้มีกฎหมายที่ช่วยให้ลูกหนี้รายย่อยทั่วไปที่ไปต่อไม่ไหวได้เข้ากระบวนการฟื้นฟูหรือขอล้มละลายได้ด้วยตนเอง
ทั้งนี้ ประมาณไตรมาส 2 ปีนี้ ธปท.จะเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อหลักเกณฑ์ที่ให้เจ้าหนี้ปล่อยสินเชื่อด้วยความรับผิดชอบ และคำนึงถึงความสามารถในการจ่ายคืนของลูกหนี้ โดยคาดว่าจะประกาศหลักเกณฑ์ดังกล่าวในไตรมาส 3 เพื่อที่จะมีผลบังคับใช้ได้ราวปลายปีนี้ ด้าน น.ส.สุวรรณี เจษฎาศักดิ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายกำกับสถาบันการเงิน 1 ธปท. เปิดเผยถึงสถานการณ์หนี้ครัวเรือนไทย และแนวทางการแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืนว่า ตั้งแต่ปี 2563 ซึ่งเป็นช่วงสถานการณ์โควิด-19 เริ่มระบาด และส่งผลกระทบทางการเงินต่อทั้งภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจนั้น ธปท.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
หนี้ครัวเรือนไทยน่าห่วง 10 ปีพุ่ง 30% ทะลุระดับเฝ้าระวัง 80% ต่อ GDPแบงก์ชาติ ระบุ หนี้ครัวเรือนไทย รอบ 10 ปีพุ่ง 30% เกินระดับเฝ้าระวังที่ 80% มาอยู่ที่ 86.8% ต่อ GDP ในไตรมาส 3 ปี 2665 ชี้หากไม่เร่งวางแนวทางแก้ กระทบความยั่งยืนทางเศรษฐกิจในระยะยาว ฐานเศรษฐกิจ หนี้ครัวเรือนไทย .
อ่านเพิ่มเติม »
ธปท. เตรียมออกเกณฑ์ปล่อยสินเชื่ออย่างรับผิดชอบ คุมโฆษณาไม่กระตุ้นก่อหนี้ หวังดึงหนี้ครัวเรือนต่ำ 80%นางสาวสุวรรณี เจษฎาศักดิ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายกำกับสถาบันการเงิน 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า ปัญหาหนี้ครัวเรือนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา หนี้ครัวเรือนไทยขยับเพิ่มขึ้นเกือบ 30% โดยในปี 2553 อยู่ที่ 59.3% ขยับเพิ่มมาอยู่ที่ 90.1% ในปี 2564 ซึ่งเป็นช่วงเกิดการระบาดของโควิด 19 และลดลงสู่ระดับ 86.8% ในไตรมาสที่ 3 ปี 2565 เพิ่มขึ้นในระดับสูง เกินกว่าระดับเฝ้าระวังที่ 80% ต่อ GDP
อ่านเพิ่มเติม »
หนี้ครัวเรือน โคม่า! 10 ปีผ่าน พุ่ง 30% ไตรมาส 3/65 ทะลุ 86.8% ต่อจีดีพี เกินเบอร์เฝ้าระวังหนี้ครัวเรือน โคม่า! 10 ปีผ่าน พุ่ง 30% ไตรมาส 3/65 ทะลุ 86.8% ต่อจีดีพี เกินเบอร์เฝ้าระวัง หนี้ครัวเรือน via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »
ผงะคนวัยทำงานอายุ 25-29 ปีก่อหนี้เกินตัวธปท.เผยโควิดหนุนสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีพุ่ง หวั่นยืดเยื้อยาวนานฉุดรั้งเศรษฐกิจระยะยาว ผงะคนวัยเริ่มทำงานสัดส่วน 58% เป็นหนี้ มีหนี้เกิน 4 บัญชีต่อคน วงเงินรวมต่อคนสูงถึง 10-25 เท่าของรายได้ในแต่ละเดือน
อ่านเพิ่มเติม »
ตะลึง! พบเหยื่อถูกดูดเงินวันละ 800 คดีคลังเผย พบประชาชนเป็นเหยื่อถูกดูดเงินในบัญชีวันละ 800 คดี ร่วมถก“ธปท.-ดีอีเอส” หาแนวทางป้องกัน พร้อมแนะจุดสังเกตมิจฉาชีพอ้างเป็นกรมภาษี กดดันโอนเงินจ่ายค่าปรับ ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ธปท. ออกกฎสแกนหน้า - ลายนิ้วเพิ่ม หากโอนเงินถี่ - ยอดเยอะ หวังสกัดมิจฉาชีพดูดเงินหมดบัญชี #beartaiธปท. เตรียมเพิ่มมาตรการป้องกัน โดยจะให้สถาบันการเงินเพิ่มกระบวนการยืนยันตัวตนด้วยการเปรียบเทียบอัตลักษณ์ หวังสกัดมิจฉาชีพดูดเงินหมดบัญชี
อ่านเพิ่มเติม »