เชื่อว่าหลายคนกำลังเฝ้ารอ วันขึ้นปีใหม่ เพื่อเริ่มต้นทำสิ่งใหม่ๆ ตามที่ตั้งใจไว้ แต่บางคนมักจะมองย้อนไปในอดีตในช่วงเวลาสิ้นปี ไม่ใช่แค่คิดถึง แต่อยู่ใน “ภาวะโหยหาอดีต” จนอยากย้อนเวลากลับไปแม้จะทำ ไม่ได้ก็ตาม อ่านต่อ : กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
เอาไว้ว่า ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ และไม่จำเป็นต้องเกิดกับคนสูงอายุหรือคนที่สูญเสียคนสำคัญเสมอไป
ดังนั้นการที่เราคิดถึงใครหรือช่วงเวลาใดในชีวิตที่ผ่านมานั้นไม่ใช่เรื่องผิดหรือเป็นเรื่องที่แย่เสียทีเดียว หากเราเรียนรู้ที่จะอยู่กับความคิดถึงกับชีวิตปัจจุบันได้อย่างมีความสุข เพราะในความเป็นจริงแล้วไม่มีใครสามารถย้อนเวลากลับไปได้ซึ่งเป็นหนึ่งในอารมณ์ของมนุษย์ทั่วไป ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบ ความรู้สึกนี้เกิดขึ้นจากความผูกพันที่เรามีต่อทุกอย่างที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ทั้งผู้คน สถานที่ หรือสิ่งของ มีการศึกษาเรื่องความคิดถึงอย่างจริงจังเมื่อช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่เป็นการศึกษาในเชิงผลเสียของมัน...
แต่ในความเป็นจริงแล้ว “ความคิดถึง” หรือ “ภาวะโหยหาอดีต” ไม่ได้มีแค่ผลเสียเพียงอย่างเดียว แต่ในบางครั้งความคิดถึงก็ส่งผลบวกทางจิตใจ เพราะเมื่อเรานึกถึงช่วงเวลาที่มีความสุขในอดีต จะส่งผลให้เกิดรู้สึกถึงความอบอุ่นไปกับช่วงเวลาดังกล่าว รวมถึงมองเห็นถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตในแง่ดีมากขึ้น ช่วยให้เราไม่ต้องจมอยู่กับเรื่องแย่ๆ ในอดีตเพียงอย่างเดียวสำหรับใครหลายคน “ความคิดถึง” มักจะขยันทำงานในช่วงเทศกาลมากเป็นพิเศษ โดยเฉพาะการได้รวมตัวกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอีกครั้ง เช่น เทศกาลสงกรานต์...
ซึมเศร้า เป็นระยะที่จิตใจไม่มีเรี่ยวแรง แยกตัวจากสังคม พูดน้อยลง มองโลกในแง่ลบ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ ระยะนี้อาจใช้เวลานานประมาณ 4-6 สัปดาห์ หากผ่านช่วงนี้ไปได้ ก็จะเข้าใจและทำใจต่อการสูญเสียได้ดีขึ้น