ชวนดูเหตุผลว่า ทำไมการกินเนื้อสัตว์ของเรา ถึงทำให้โลกร้อนขึ้น ? ปัญหาใหญ่ระดับโลกที่ทั่วโลกต่างให้ความสำคัญในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ฐานเศรษฐกิจ
โดยที่ผ่านมาภาวะโลกร้อนเป็นภัยคุกคามประชากรทั่วโลก ไม่เพียงส่งผลต่อสุขภาพ การดำรงอยู่ เเต่ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจอีกด้วย
ที่ผ่านมามีความพยายามลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโดยการหันไปใช้พลังงานทดแทน แต่รู้หรือไม่ว่า การผลิตอาหาร ก็เป็นแหล่งกำเนิดของก๊าซเรือนกระจกเช่นกัน จากข้อมูลพบว่า กระบวนการผลิตอาหารปล่อยก๊าซเรือนกระจกราว 30% ของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดบนโลก ครึ่งหนึ่งเกิดจากการผลิตเนื้อสัตว์ แสดงให้เห็นว่า การทำปศุสัตว์จำเป็นต้องใช้พื้นที่มหาศาล การตัดไม้ทำลายป่าเพื่อเพิ่มเนื้อที่ฟาร์ม หรือการเกษตรที่ต้องใช้น้ำจำนวนมากเพื่อเลี้ยงดูสัตว์อีกต่อหนึ่ง ทุกขั้นตอนของการผลิตเนื้อสัตว์ล้วนแล้วแต่ใช้ทรัพยากรและปล่อยของเสีย ไม่ว่าจะเป็นการใช้น้ำและพลังงานปริมาณมากในการเลี้ยงสัตว์ ทำความสะอาดโรงฆ่าสัตว์ การขนส่งอาหารและเนื้อสัตว์ รวมถึงการแปรรูปอาหาร
การปล่อยน้ำโดยเฉลี่ยทั่วโลกหรือปริมาณน้ำทั้งหมดที่จำเป็นเพื่อผลิตเนื้อวัวหนึ่งปอนด์คือน้ำ 1,800 แกลลอน เนื้อหมูหนึ่งปอนด์ใช้น้ำ 718 แกลลอน จากการเปรียบเทียบ ถั่วเหลือง 206 แกลลอน ข้าวโพด 108 แกลลอน อาหารที่เรารับประทานเข้าไปนั้น สามารถปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดย10 อันดับแรกของโลก คิดจากปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยเข้าชั้นบรรยากาศต่อการผลิตวัตถุดิบ 1 กก. เนื้อวัว ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 33.3 กก.ชีส ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 23.88 กก.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
เรื่องน่ารู้ วันเพนกวินโลก World Penguin Day ตัวบ่งชี้ Climate changeเรื่องน่ารู้ วันเพนกวินโลก World Penguin Day นกที่บินเหนือฟ้าไม่ได้ แต่บินใต้น้ำได้ดี มีความสำคัญอย่างไร เเละสามารถบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ climate change ได้อย่างไร วันเพนกวินโลก WorldPenguinDay climatechange ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
สุดารัตน์ชี้ไทยต้องรุกรับมือความท้าทายของโลก5ด้าน'สุดารัตน์' ชี้ไทยต้องปรับตัวเชิงรุก เปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส รับมือความท้าทายของโลก 5 ด้าน แนะเอกชนเร่งปรับตัว รับผลกระทบ จาก Climate Change และมองการสร้างรายได้ จากภูมิรัฐศาสตร์โลก
อ่านเพิ่มเติม »
Climate Change มหันตภัยร้ายซ้ำเติมความยากจน ทำความเหลื่อมล้ำพุ่งClimate Change การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย ยังคงเป็นมหันตภัยร้ายซ้ำเติมความยากจน สร้างความเหลื่อมล้ำให้คนไทยระหว่างคนรวย กับคนจน ทำให้คนสูญเสียรายได้ ทรัพย์สินมากมาย วันนี้สภาพัฒน์ มีข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหานี้ อ่านข่าวฉบับเต็มที่ : Climate Change…
อ่านเพิ่มเติม »
สศช. แนะรัฐแก้วิกฤต Climate Change เน้นดูแลกลุ่มเปราะบาง ลดความเหลื่อมล้ำสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สศช. ประเมินการแก้ปัญหา Climate Change ยังไม่บรรลุผล แนะรัฐดูแลกลุ่มเปราะบางรายได้น้อย ลดความเหลื่อมล้ำ และ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มีผลกระทบซึ่งกันและกัน
อ่านเพิ่มเติม »
วิกฤต Climate Change ซ้ำเติมความยากจนร้ายแรง-เหลื่อมล้ำพุ่งวิกฤต Climate Change การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย ทำให้สูญเสียรายได้ ทรัพย์สิน ซ้ำเติมปัญหาความยากจนร้ายแรง เพิ่มความเหลื่อมล้ำในประเทศ เช็คทางออกของปัญหาพร้อมข้อเสนอแนะ ClimateChange สภาพภูมิอากาศ
อ่านเพิ่มเติม »
10 ภัยพิบัติร้ายแรงจาก 'Climate Change' กระทบระบบนิเวศ ก่อโรคอุบัติใหม่ซ้ำๆ10 ภัยพิบัติรุนแรง ใกล้ตัวที่เกิดจากภาวะ 'Climate Change' กระทบตั้งแต่ภูเขาถึงท้องทะเล ก่อให้เกิดภัยแล้ง พายุุรุนแรง และสร้างโรคอุบัติใหม่ซ้ำๆ ภาวะโลกร้อน CLIMATECHANGE สังคมยั่งยืน โรคอุบัติใหม่ สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง คมชัดลึกออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »