ถอดรหัสพันธุกรรม 25,000 คนไทย ค้นหายีนเสี่ยงสูงเกิดภาวะลองโควิด โควิด19 ถอดรหัสพันธุกรรม ข่าวไทยพีบีเอส ข่าวที่คุณวางใจ ThaiPBSnews
ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ ถอดรหัสพันธุกรรม 25,000 คนไทย ค้นหายีนเสี่ยงสูงที่จะเกิดอาการลองโควิด-19
ลองโควิดเป็นภาวะที่พบในบางคนที่เคยติดเชื้อโควิด-19 และยังคงมีอาการเป็นเวลาหลายสัปดาห์ หลายเดือน หรืออาจหลายปี หลังจากการติดเชื้อครั้งแรก อาการของลองโควิดอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่อาการที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ ความเหนื่อยล้า หายใจไม่ออก สมาธิสั้น ปวดหน้าอก สมองล้า ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปัญหาการนอนหลับ ภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และการสูญเสียการรับรู้กลิ่นหรือรสชาติ
ล่าสุดทีมนักวิจัยไทยจากสามสถาบัน ได้แก่ ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ โรงพยาบาลประชาธิปัตย์ ได้ร่วมกันศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรมเฉพาะตำแหน่งที่เรียกว่า"single nucleotide polymorphisms" หรือ"SNP" บนจีโนมของผู้ติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 260 คน ที่มีรายงานมาก่อนหน้าว่าอาจเกี่ยวข้องกับอาการลองโควิด โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็นสองกลุ่มตามความรุนแรงของอาการโควิด-19 ของพวกเขา...
และขณะนี้ทีมวิจัยจากศูนย์จีโนมฯ รพ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
5 ประเทศโควิดยังไม่คลี่คลาย เปิดสาเหตุเกิดจากปัจจัยอะไร?องค์การอนามัยโลกแถลงสถานการณ์ล่าสุด 5 ประเทศโควิด-19 ยังไม่คลี่คลาย เปิดสาเหตุเกิดจากปัจจัยอะไร?ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ - คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก เฟซบ
อ่านเพิ่มเติม »
'WHO' แนะให้เฝ้าระวังการระบาดโควิด-19 จากน้ำเสีย'WHO' แนะให้เฝ้าระวังการระบาดโควิด-19 จากน้ำเสีย siamrath สยามรัฐ siamrathonline สยามรัฐออนไลน์ ข่าววันนี้ โควิด19 โควิดวันนี้ โควิดไทย โควิด WHO
อ่านเพิ่มเติม »
'องค์การอนามัยโลก' แนะจับตาระบาด 'โควิด' จากน้ำเสียศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ชาติสมาชิกเฝ้าระวังการระบาดโควิด-19 จากน้ำเสีย
อ่านเพิ่มเติม »
โควิด-19 รอบสัปดาห์ ติดเชื้อทะลุกว่า 1 พันราย ป่วยหนัก-เสียชีวิตลดลงโควิด-19 รอบสัปดาห์ ติดเชื้อทะลุกว่า 1 พันราย ป่วยหนัก-เสียชีวิตลดลง . อ่านเพิ่มเติม : . PPTVHD36 โควิด โควิด19 โควิดรอบสัปดาห์ โควิดลดลง สถานการณ์โควิด โอมิครอน โควิดหลังสงกรานต์ กรมควบคุมโรค ครบทุกข่าวเข้าใจคอกีฬา
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จัก ไวรัสพันธุ์ใหม่ 'แลงยา' ที่อาจระบาดแทน 'โควิด-19'ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ รพ.รามาธิบดี ระบุ “ไวรัสแลงยา' หนึ่งในสมาชิกกลุ่มไวรัสเฮนิปา (Langya henipavirus) ที่อาจมาแทนที่ไวรัสโควิด-19 วันนี้ (30 มิ.ย.2566) โพสต์เฟซบุ๊ก Center for Medical Genomics ได้เผยแพร่ข้อความระบุว่า โลกพร้อมรับไวรัสตัวใหม่หลังโควิดหรือยัง? “ไวรัสแลงยา' หนึ่งในสมาชิกกลุ่มไวรัสเฮนิปา (Langya henipavirus) ที่อาจมาแทนที่ไวรัสโควิด-19ขณะที่ภัยคุกคามจากการระบาดใหญ่ของโควิด-19 ดูเหมือนกำลังจะกลายสภาพเป็นโรคประจำฤดูกาล และโรคประจำถิ่นตามลำดับ แต่กลับพบไวรัสกลุ่มใหม่ 'เฮนิปา (henipavirus)' ที่มีลักษณะการระบาดคล้ายโควิด-19 เข้ามาแทนที่ดร.เอเรียล ไอแซกส์ และดร.หยู ชาง โลว์ นักวิจัยจาก School of Chemistry and Molecular Biosciences แห่ง “มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์” ประเทศออสเตรเลีย ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยลงในวารสารวิชาการทางการแพทย์ “Nature Communications” ในเดือนนี้ (มิถุนายน 2566) ชี้ให้เห็นว่ามีความสุ่มเสี่ยงสูงมากที่เชื้อ “ไวรัสแลงยา ในกลุ่มเฮนิปา (Langya henipavirus หรือ LayV,)” ที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก กำลังจะมีการแพร่ระบาดใหญ่ในมนุษย์แม้ว่าขณะนี้ยังไม่พบการแพร่ระบาดระหว่างคนสู่คนก็ตาม แต่กลับพบการแพร่ระบาดจากสัตว์สู่คนของไวรัสแลงยาและกลุ่มสมาชิกถี่ขึ้นเป็นลำดับ และหากเกิดการกลายพันธุ์เพียงไม่กี่ตำแหน่งบนจีโนมที่ส่งผลให้ส่วนหนามของไวรัสเข้าจับกับเซลล์มนุษย์ได้ดีขึ้นจะช่วยให้ไวรัสแลงยาสามารถก้าวข้ามจากสัตว์มาระบาดในหมู่คนได้ เช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นกับไวรัสโคโรนา 2019 ในอดีต ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดีศูนย์จีโนมทางการแพทย์ รพ.รามาธิบดี ได้เตรียมพร้อมตรวจสอบรหัสพันธุกรรมอย่างรวดเร็ว (mass array genotyping) เพื่อตรวจจับไวรัสแลงยาดังกล่าวจากสิ่งส่งตรวจแล้วองค์การอนามัยโลก และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกคาดคะเนว่าภัยคุกคามโรคติดเชื้อที่จะระบาดไปทั่วโลก (Pandemic) กับมนุษยชาติครั้งต่อไปนอกเหนือจากไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่หรือไวรัสไข้หวัดนกแล้ว อาจเป็นกลุ่มไวรัสเฮนนิปา อันประกอบไปด้วยไวรัส แลงยา (Langya) โม่เจียง (Mòjiāng) นิปาห์ (Nipah) และเฮนดรา (Hendra) ฯลฯ ซึ่งจัดอยู่ในตระกูล Paramyxoviridaeไวรัสแลงยาเป็นเชื้อโรคไวรัสติดต่อจากสัตว์มาสู่คน พบครั้งแรกในชาวไร่จำนวน 35 คน ในมณฑลซานตงและเหอหนานของประเทศจีน ในปี 2565ไวรัสโม่เจียงที่ถูกค้นพบในปี 2555 ในหนูในเหมื
อ่านเพิ่มเติม »
WHO ผวา! ไวรัสพันธุ์ใหม่ ระบาดแทนที่ 'โควิด'ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า “ไวรัสแลงยา' หนึ่งในสมาชิกกลุ่มไวรัสเฮนิปา (Langya henipavirus) ที่อาจมาแทนที่โควิด-19
อ่านเพิ่มเติม »