เดชรัต ระบุว่า อุปสรรค ทลายทุนผูกขาด คือ จินตนาการของผู้บริโภค เช่น หากผู้บริโภคมีจิตนาการไม่ชัดเจน ว่าเสียประโยชน์อย่างไร จากควบรวมธุรกิจหรือผูกขาดขณะที่ส่วนใหญ่ยังคงคุ้นกับสิ่งที่เรียกว่า ‘นายทุนนิยม’ มากกว่า ‘ทุนนิยม’ อ่านเพิ่มเติม: สำนักข่าวอิศรา
แม้ว่าในขณะนี้ยังคงต้องลุ้นว่า ‘พรรคก้าวไกล’ จะสามารถฝ่าด่าน 'ส.ว.' จัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมาก ‘ก้าวไกล-เพื่อไทย’ ร่วมกับพรรคการเมืองขนาดเล็กอีก 6 พรรค ได้สำเร็จหรือไม่ และหากการจัดตั้งรัฐบาลผ่านพ้นไปได้ด้วยดี หนึ่งในนโยบายที่ ‘รัฐบาลใหม่’ จะเดินหน้าผลักดันนั่นก็คือนโยบาย ‘ทลายทุนผูกขาด’
พรรคก้าวไกล จึงอยากให้มีการปรับโครงสร้างราคาก๊าซธรรมชาติ ให้ผู้ใช้ทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นประชาชนและภาคอุตสาหกรรมใช้ก๊าซธรรมชาติในราคาเดียวกัน ไม่ใช่ภาคอุตสาหกรรมใช้ก๊าซราคาถูก แต่ประชาชนต้องซื้อก๊าซราคาแพง ถ้าทำได้ต้นทุนค่าไฟฟ้าจะลดลงได้ 70 สตางค์/หน่วย” เดชรัต กล่าว ประเด็นที่สอง เรื่องสุราก้าวหน้า แม้ว่าสุราก้าวหน้า จะไม่ได้มีปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างที่ไม่เป็นธรรมกับผู้บริโภคโดยตรง แต่ว่ามีประเด็นที่ไม่เป็นธรรมระหว่างผู้ผลิตด้วยกันเอง ดังนั้น พรรคก้าวไกลจะ ‘ปลดล็อก’ เงื่อนไขที่ทำให้ผู้ผลิตรายใหญ่ไม่กี่รายเท่านั้นที่ผูกขาดผลิตสุราได้ ซึ่งจะทำให้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้นเดชรัต กล่าวต่อว่า ยังมีเรื่องใหญ่ที่เป็นหัวใจสำคัญ ซึ่งพรรคก้าวไกลอยากทำและตั้งใจจะทำอย่างมาก คือ การแก้ไข พ.ร.บ.ในเรื่องการผูกขาดทางการค้าหรือการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม เพราะตราบใดที่ พ.ร.บ.
แล้วถ้าพ่วงเรื่องกระจายโอกาสในการเป็นผู้ผลิตและมีส่วนร่วมในระบบพลังงาน เราจะค่อยๆเห็นภาพชัดเจนว่า ความมั่นคงของระบบพลังงานในอนาคตจะเป็นบทบาทของใครบ้าง แต่แน่นอนที่สุด คงไม่ใช่บทบาทของเอกชนรายใหญ่ที่จะผลิตไฟฟ้ามากถึง 60% และสิ่งที่จะค้ำประกัน ก็คงไม่ใช่ให้รัฐผลิตไปถึง 50% เช่นกัน แต่จะต้องมาจากการกระจายมากกว่านั้น” เดชรัต กล่าว
แบบที่สอง มีสัญญาบางอย่างที่เราสามารถมีสัญญาในรูปแบบอื่นๆมาทดแทนได้ ยกตัวอย่างเช่น เวลาที่พูดเรื่องขนส่งสาธารณะแล้วมีคนเป็นห่วงมาก คือ รถเมล์ เรามีสัมปทานอยู่แล้ว ไม่สามารถเปลี่ยนเป็นรถเมล์ไฟฟ้าได้ หากเป็นลักษณะแบบนี้ เราสามารถให้ผลประโยชน์ที่จะชดเชยสัมปทานเดิม แล้วให้เขามาอยู่ในระบบแบบใหม่ได้ ดังนั้น สิ่งที่พรรคก้าวไกลจะทำ คือ เจรจาต่อรองขอลดสิ่งที่จะต้องจ่าย ณ ขณะนี้ เพื่อไปบอกว่า เขาน่าจะได้รับประโยชน์อะไรหลังจากนี้ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เรายังไม่ได้เริ่มต้นเจรจา แต่ยกตัวอย่างเปรียบเทียบว่า มันคงต้องทำในลักษณะแบบนี้ เช่นเดียวกับสัญญาสัมปทานรถไฟฟ้าในกรุงเทพฯ ก็อาจต้องเข้าสู่กระบวนการคล้ายๆแบบนี้ด้วยเช่นกัน
ในขณะที่ ทุนนิยม คือ ทุกคนไม่ว่าจะเป็นรายเล็กรายใหญ่ ต้องมีโอกาสแข่งขันได้เท่าเทียมกัน แต่ในหลายๆกรณีกลับมีความเป็นห่วงว่า ถ้าทำแบบนี้แบบนั้นแล้ว รายใหญ่เขาจะว่าอย่างไร นี่แปลว่าเราติดอยู่กับวัฒนธรรมที่เป็น ‘นายทุนนิยม’ มากกว่าเป็นทุนนิยมอย่างแท้จริง” เดชรัต กล่าวด้าน สารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการสภาองค์กรของผู้บริโภค กล่าวว่า นโยบายที่พรรคก้าวไกลจะทำเมื่อได้เป็นรัฐบาลนั้น มีหลายเรื่องสอดคล้องกับสิ่งที่ สอบ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ต่อรองแก้สัญญา-รื้อกม.แข่งขัน! โจทย์ว่าที่รบ.ใหม่‘ทลายทุนผูกขาด’-ปรับกติกาธุรกิจพลังงาน“ส่วนที่ยากที่สุด คือ แบบที่สาม เงื่อนไขที่รัฐไปสัญญากับภาคเอกชนไว้แล้ว หรือเราเปิดโอกาสให้เอกชนทำอะไรที่อาจย้อนกลับยากไปแล้ว เช่น กำลังการผลิตไฟฟ้าที่ล้นเกิน ซึ่งปัจจุบันเรามี ‘ค่าพร้อมจ่าย’ ที่จะต้องเสียเป็นประจำ แม้ว่าโดยตรรกะแล้วเราไม่ควรต้องจ่าย แต่เมื่อมีการเซ็นสัญญาไปแล้ว การแก้ไขสัญญาก็ไม่ง่าย…”
อ่านเพิ่มเติม »
Tesla Model Y ที่ใช้แบตเตอรี่ของ BYD ชาร์จเร็วขึ้นอย่างมาก เมื่อเทียบกับแบตเตอรี่เดิมรถยนต์ไฟฟ้า Tesla Model Y ใหม่ ที่ผลิตขึ้นในโรงงาน Gigafactory Berlin มาพร้อมแบตเตอรี่ใหม่ของ BYD ที่เรียกว่า Blade ใ
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดตัว BMW X1 xDrive30e M Sport วิ่งไฟฟ้าไกล 83 กม. ราคา 2,799,000 บาทเปิดตัว BMW X1 xDrive30e M Sport รุ่นปี 2023 ใหม่ พร้อมขุมพลัง Plug-in Hybrid ขนาด 1.5 ลิตร กำลังรวมสูงสุด 326 แรงม้า ขับขี่ในโหมดไฟฟ้าไกลสุด 83 กิโลเมตรเมื่อชาร์จเต็ม
อ่านเพิ่มเติม »
'พล.อ.ประยุทธ์' ไม่วิจารณ์หน้าตาครม.ใหม่ ชี้ไม่มีปัญหา ปมศาลรธน.ตีตกพ.ร.บ.อุ้มหาย
อ่านเพิ่มเติม »