ตลาดคาร์บอนเครดิตบูม แนะเพิ่มมูลสินค้าเกษตร-ขยายตลาดส่งออก เศรษฐกิจ ข่าววันนี้ NationOnline
ไม่ว่าจะเป็นภาษีจากการประกอบกิจการในประเทศ หรือภาษีจากการนำเข้าสินค้าที่กระบวนการผลิตมีการปล่อยคาร์บอนสูง ส่งผลให้เกิดการซื้อขายแลกเปลี่ยนคาร์บอนเครดิต ผ่านกลไกตลาดคาร์บอน เพื่อให้ธุรกิจที่มีการปล่อยคาร์บอนสูง สามารถซื้อคาร์บอนเครดิต เพื่อชดเชยการปล่อยคาร์บอน เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างภูมิภาคกว่า 15,000 ล้านตัน และยังบังคับใช้มาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน นำร่องในปี 2566 - 2569 ซึ่งจะเริ่มใช้จริงปี 2570 รวมถึงมาตรการลดการปล่อยก๊าซในภาคการขนส่ง ทั้งเครื่องบิน เรือ รถยนต์ สิ่งก่อสร้างสำหรับการเกษตร และการจัดการของเสีย รวมถึงต้นไม้ที่ช่วยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG เช่น ไผ่ และไม้ผล เช่น ทุเรียน มะม่วง และมะขาม ซึ่งจัดเป็นผลไม้ส่งออกสำคัญของไทย และผลไม้ที่ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง
รวมถึงการส่งเสริมภาคการเกษตรในการลดก๊าซเรือนกระจก การเร่งประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อดักจับคาร์บอน การใช้ประโยชน์และกักเก็บคาร์บอน ในเชิงพาณิชย์ การปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบ การสร้างมูลค่าเพิ่มของคาร์บอนเครดิตและสิทธิประโยชน์ทางภาษี การพัฒนากลไกตลาดคาร์บอนเครดิตทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงส่งเสริมองค์ความรู้ในการเข้าร่วม T-VERs ให้แก่ธุรกิจการเกษตรไทย
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'จีน' ท้านักท่องเที่ยวไทย ตามรอยอวตาร พิชิตเขา'จางเจียเจี้ย'ในปี 2562 มีท่องเที่ยวไทยเดินทางไปจางเจียเจี้ยราว 50,000 คน และคนไทยส่วนใหญ่เลือกเมืองนี้เป็นเมืองแรกในทริปเที่ยวจีน
อ่านเพิ่มเติม »
พาณิชย์เผยส่งออกไทยติดลบ 5 เดือนติดต่อกันส่งออกก.พ.66 ทำได้มูลค่า 22,376.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ลด 4.7% ติดลบ 5 เดือนติดต่อกัน เหตุเศรษฐกิจโลกชะลอ เงินเฟ้อคู่ค้าพุ่ง ทำกำลังซื้อหด แต่สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรฟื้นตัว เป็นบวกครั้งแรกรอบ 5 เดือน แต่อุตสาหกรรมยังลบ 6.2% ประเมินไตรมาสแรกติดลบสูง ไตรมาส 2 ก็ยังลบอยู่ แต่จะฟื้นครึ่งปีหลัง มั่นใจเป้าทั้งปี 1-2% ทำได้
อ่านเพิ่มเติม »
ผู้เชี่ยวชาญชี้อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ออสซี่สร้างรายได้แตะ 1.128 หมื่นล้านดอลลาร์ ในปี 2573 : อินโฟเควสท์แอคเซนเจอร์ (Accenture) บริษัทที่ปรึกษาทางด้านเทคโนโลยีระดับโลก รายงานในวันนี้ (22 มี.ค.) ว่า ศักยภาพด้านรายได้ของออสเตรเลียจากการพัฒนาอุตสาหกรรมแบตเตอรี่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า สู่ระดับ 1.69 หมื่นล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย (1.128 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) ภายในปี 2573 ในระยะเวลาไม่ถึง 2 ปี โดยเน้นย้ำถึงความเร็วของการขยายตัวในภาคส่วนนี้และความจำเป็นในการดำเนินการอย่างรวดเร็ว รายงานชาร์จจิ้ง อะเฮด (Charging Ahead) เผยว่า อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ของออสเตรเลียพร้อมที่จะก้าวขึ้นเป็นผู้นำระดับโลก เนื่องจากประเทศมีแร่ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ แต่รัฐบาลกลางจำเป็นต้องเสนอสิ่งจูงใจทางอุตสาหกรรมจำนวนมากเพื่อสนับสนุนภาคส่วนนี้ เนื่องจากการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ในระดับโลก สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานว่า อุปสงค์แบตเตอรี่ทั่วโลกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น 34% ต่อปี จนถึงปี 2573 ซึ่งเร็วกว่าการเติบโตรายปีที่ 24% เมื่อ 18 เดือนที่แล้ว เนื่องจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของการใช้รถยนต์ไฟฟ้า ระบบกักเก็บพลังงานแบบติดตั้งอยู่กับที่ และการเปลี่ยนผ่านทางพลังงานที่รวดเร็วทั่วโลก ขณะที่รายงานที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลและกลุ่มวิจัยอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ฟิวเจอร์ แบตเตอรี่ อินดัสทรีส์ (Future Battery Industries) ซึ่งจะเปิดเผยที่กรุงแคนเบอร์ราในวันพรุ่งนี้ (23 มี.ค.) โดยนายเอ็ด ฮูซิค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ […]
อ่านเพิ่มเติม »
ส่งออกอัญมณีเริ่มแผ่ว จับตาปี 66 ปัจจัยเสี่ยงเพียบส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ ม.ค.66 มูลค่า 573.45 ล้านเหรียญสหรัฐ ลด 1.19% หากรวมทองคำ มีมูลค่า 732.92 ล้านเหรียญสหรัฐ ลด 4.51% เหตุเศรษฐกิจคู่ค้าสำคัญชะลอตัว ทำกำลังซื้อหด GIT จับตาปี 66 ปัจจัยเสี่ยงเพียบ แนะปรับตัวผลิตสินค้า BCG ลดคาร์บอน สร้างจุดเด่น และควรมุ่งเจาะจีน ตะวันออกกลาง และอินเดีย ที่มีแนวโน้มเติบโต
อ่านเพิ่มเติม »
EU บรรลุข้อตกลงขั้นต้นลดใช้พลังงาน 11.7% ในปี 2573 : อินโฟเควสท์คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (The Council of the European Union) ระบุในแถลงการณ์ว่า ประธานคณะมนตรี EU และคณะผู้เจรจาของ EU ได้บรรลุข้อตกลงขั้นต้นในวันนี้ (10 มี.ค.) เพื่อลดการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (final energy consumption) ใน EU ลง 11.7% ในปี 2573 แถลงการณ์ระบุว่า “ระดับสูงสุดของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายใน EU จะเทียบเท่ากับปริมาณน้ำมันดิบ 763 ล้านตัน และ 993 ล้านตันสำหรับการใช้พลังงานขั้นต้น (primary consumption)” ทั้งนี้ ขีดจำกัดสำหรับการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายนั้นจะมีผลผูกพันกับประเทศสมาชิก EU ในขณะที่เป้าหมายการใช้พลังงานขั้นต้นจะเป็นตัวชี้วัด คณะกรรมการผู้แทนถาวรในคณะมนตรี EU และคณะกรรมการรัฐสภา EU ที่รับผิดชอบนโยบายด้านพลังงานจะต้องอนุมัติข้อตกลงขั้นต้นนี้ หลังจากนั้นรัฐสภาและคณะมนตรี EU จึงจะสามารถนำข้อตกลงดังกล่าวไปบังคับใช้อย่างเป็นทางการได้ โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (10 มี.ค. 66) Facebook […]
อ่านเพิ่มเติม »
KBANK จ่อออกหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิล็อตใหม่ 600 ล้านเหรียญสหรัฐ ฟิทช์ให้อันดับเครดิต BBB : อินโฟเควสท์ฟิทช์ เรทติ้งส์ ประกาศให้อันดับเครดิตแก่หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิไม่มีหลักประกันของธนาคารกสิกรไทย (KBANK) (‘BBB’/แนวโน้มอันดับเครดิตมีเสถียรภาพ) ที่ ‘BBB’ โดยหุ้นกู้ดังกล่าวมีมูลค่า 600 ล้านเหรียญสหรัฐและออกเสนอขายโดย KBank สาขาฮ่องกงภายใต้โครงการหุ้นกู้ Euro Medium-Term Note Programme ซึ่งมีมูลค่าโครงการรวม 4 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้ โครงการหุ้นกู้ EMTN ดังกล่าวได้รับการคงอันดับเครดิตที่ ‘BBB’ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2565 การประกาศให้อันดับเครดิตครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากฟิทช์ได้รับเอกสารฉบับสมบูรณ์ ซึ่งมีข้อมูลตรงตามที่ได้รับมาก่อนหน้า อันดับเครดิตที่ประกาศนี้เป็นอันดับเครดิตระดับเดียวกับที่ฟิทช์คาดว่าจะให้แก่หุ้นกู้ดังกล่าวตามที่ได้ประกาศไปเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 ปัจจัยสนับสนุนอันดับเครดิต อันดับเครดิตของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิดังกล่าวอยู่ในระดับเดียวกันกับอันดับเครดิตสากลสกุลเงินต่างประเทศระยะยาว (Long- Term Foreign-Currency Issuer Default Rating) ของ KBank ที่ ‘BBB’ เนื่องจากหุ้นกู้ดังกล่าวเป็นภาระผูกพันที่ไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกันของธนาคาร ปัจจัยที่อาจส่งผลต่ออันดับเครดิตในอนาคต ปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบเชิงลบหรือส่งผลให้เกิดการปรับลดอันดับเครดิต (ปัจจัยเดียวหรือหลายปัจจัยรวมกัน) อันดับเครดิตของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิของ KBANK จะถูกปรับลดอันดับหากอันดับเครดิตสากลสกุลเงินต่างประเทศระยะยาวของธนาคารถูกปรับลดอันดับ อันดับเครดิตสากลสกุลเงินต่างประเทศระยะยาวของ KBANK […]
อ่านเพิ่มเติม »