ตรวจสอบแล้ว! ที่แท้ไม่ได้เกิดจาก'สายชาร์จ’' แต่เหยื่อถูกหลอก โหลดแอปฯปลอมฝังมัลแวร์

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ตรวจสอบแล้ว! ที่แท้ไม่ได้เกิดจาก'สายชาร์จ’' แต่เหยื่อถูกหลอก โหลดแอปฯปลอมฝังมัลแวร์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 naewna_news
  • ⏱ Reading Time:
  • 48 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 23%
  • Publisher: 51%

อ่านรายละเอียด : สายชาร์จ เหยื่อถูกหลอก โหลดแอปฯปลอม ฝังมัลแวร์ สายชาร์จดูดเงิน ตรวจสอบแล้ว! ที่แท้ไม่ได้เกิดจาก'สายชาร์จ’' แต่เหยื่อถูกหลอก โหลดแอปฯปลอมฝังมัลแวร์

อย่างไรก็ตาม สถาบันการเงินจำเป็นต้องพัฒนาเครื่องมือและการตอบสนองให้เท่าทันอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการพัฒนากลไกความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และขอความร่วมมือจากประชาชนเพิ่มความระมัดระวัง เพื่อมิให้ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพ โดยสามารถป้องกันภัยในเบื้องต้นได้ ดังนี้2.

3. อัปเดต Mobile Banking ให้เป็นเวอร์ชันล่าสุดอยู่เสมอ หรือตั้งค่าให้มีการอัปเดตแบบอัตโนมัติ ซึ่งจะมีมาตรการป้องกันการควบคุมเครื่องทางไกลรวมถึงมีการปรับปรุงพัฒนาระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ 4. ไม่ใช้เครื่องโทรศัพท์มือถือที่ไม่ปลอดภัยมาทำธุรกรรมทางการเงิน อาทิ เครื่องที่ปลดล็อก เพื่อให้สามารถติดตั้งแอปพลิเคชันใด ๆ ก็ได้ หรือใช้เครื่องที่มีระบบปฏิบัติการล้าสมัย เป็นต้น

5. ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อให้การติดตามแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็ว และหากลูกค้าธนาคารพบธุรกรรมผิดปกติ สามารถติดต่อคอลเซ็นเตอร์หรือสาขาของธนาคารที่ลูกค้าใช้งาน เพื่อแจ้งตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องของธุรกรรมในทันที โดยธนาคารจะดูแลแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยเร็วที่สุด ทั้งนี้ ธปท. ได้เน้นย้ำให้สถาบันการเงินมีมาตรการดูแลลูกค้าทุกรายอย่างเต็มที่ตามขั้นตอนปฏิบัติที่กำหนด ซึ่งหากได้ตรวจสอบและพิสูจน์พบว่าลูกค้าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้ข้อมูลส่วนตัว สถาบันการเงินต้องรีบพิจารณาช่วยเหลือและดูแลความเสียหายของลูกค้าโดยเร็วภายใน 5 วัน

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

naewna_news /  🏆 43. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

ไขข้อสงสัย!! สายชาร์จดูดข้อมูล ดูดเงินในมือถือได้หรือไม่? ย้ำดาวน์โหลดแอปฯอันตรายสุดไขข้อสงสัย!! สายชาร์จดูดข้อมูล ดูดเงินในมือถือได้หรือไม่? ย้ำดาวน์โหลดแอปฯอันตรายสุดวันที่ 17 ม.ค.66 จากกรณีมีการแชร์ข้อความเตือนภัยเกี่ยวกับกลุ่มมิจฉาชีพ หลังล่าสุดพบว่ามีแฮกเกอร์หัวใสดัดแปลงสายชาร์จ USB ให้ดูดข้อมูลได้ ฉะนั้นควรเลี่ยงยืมสายชาร์จของคนไม่รู้จักมาชาร์จโทรศัพท์มือถือนั้น พล.อ.ต.อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) ได้กล่าวบนเวทีเสวนาหัวข้อ “สกมช.กับการนำพาประเทศรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ ในงาน “NCSA Press Relations 2023” ถึงกรณีดังกล่าวตอนหนึ่งว่า มีความเป็นไปได้น้อยมากที่มิจฉาชีพจะมีดัดแปลงสาย USB หรือ 'สายชาร์จดูดข้อมูล' เพื่อที่ใช้ดูดเงินในบัญชีหรือ เพื่อเข้าถึงข้อมูลด้วย สายชาร์จ USB หรือ สาย USB C เพราะสายชาร์จที่สาม
อ่านเพิ่มเติม »

ไม่จริง! สายชาร์จดูดเงินไม่ได้ แต่ถูกหลอกโหลดแอปฯปลอม : อินโฟเควสท์ไม่จริง! สายชาร์จดูดเงินไม่ได้ แต่ถูกหลอกโหลดแอปฯปลอม : อินโฟเควสท์ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ชี้แจงถึงกรณีมีข่าวพบผู้เสียหายจากการใช้งานสายชาร์จปลอม แล้วถูกดูดข้อมูลและโอนเงินออกจากบัญชีนั้น ธปท. ได้หารือสมาคมธนาคารไทย เพื่อตรวจสอบกรณีดังกล่าวแล้ว พบว่า ไม่ได้เกิดจากการใช้งานสายชาร์จปลอม แต่เกิดจากผู้เสียหายถูกมิจฉาชีพหลอกลวงให้ติดตั้งแอปพลิเคชันปลอมที่แฝงมัลแวร์ ทำให้มิจฉาชีพล่วงรู้ข้อมูลการทำธุรกรรมของลูกค้า และควบคุมเครื่องโทรศัพท์เพื่อสวมรอยทำธุรกรรมแทนจากระยะไกล เพื่อโอนเงินออกจากบัญชี โดยอาจเลือกทำธุรกรรมในช่วงเวลาที่ผู้เสียหายไม่ได้ใช้งานโทรศัพท์ ปัจจุบัน มิจฉาชีพมีวิธีหลอกลวงหลายรูปแบบ อาทิ SMS หลอกลวง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ และแอปพลิเคชันให้สินเชื่อปลอม เป็นต้น และมีการปรับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด ใช้การหลอกลวงให้ติดตั้งแอปพลิเคชันปลอมที่แฝงมัลแวร์ ซึ่ง ธปท. ได้ดำเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา โดยการออกมาตรการต่างๆ ให้สถาบันการเงินต้องปฏิบัติ และร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.), สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อดำเนินการต่าง ๆ ได้แก่ ปรับปรุงพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยบน Mobile Banking อย่างต่อเนื่อง ปิดกั้นเว็บไซต์หลอกลวง และตัดการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิจฉาชีพใช้ควบคุมเครื่องผู้เสียหายจากระยะไกล แก้ไขปัญหา SMS หลอกลวง ที่แอบอ้างชื่อเป็นสถาบันการเงิน จัดให้มีช่องทางการรับแจ้งความออนไลน์ เพื่อให้ประชาชนแจ้งความได้สะดวก และอายัดบัญชีได้รวดเร็วขึ้น ประชาสัมพันธ์สร้างการตระหนักรู้ […]
อ่านเพิ่มเติม »

เช็กยอดเงิน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โอนเงินเข้าวันนี้ (18 ม.ค.) ได้เท่าไหร่เช็กยอดเงิน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โอนเงินเข้าวันนี้ (18 ม.ค.) ได้เท่าไหร่เช็กยอดเงิน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรคนจน เดือนมกราคม กรมบัญชีกลางโอน เงินบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ วันนี้ 18 มกราคม 2566 สามารถกดเป็นเงินสดและสะสมในเดือนถัดไปได้ เช็กไทม์ไลน์วันโอนเงินบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เดือนมกราคม 2566 ดังนี้
อ่านเพิ่มเติม »

เปิด 5 วิธีป้องกันใช้งานสายชาร์จปลอมแล้วถูกดูดข้อมูลและโอนเงินออกจากบัญชี พบถูกหลอกฝังแอปฯมัลแวร์เปิด 5 วิธีป้องกันใช้งานสายชาร์จปลอมแล้วถูกดูดข้อมูลและโอนเงินออกจากบัญชี พบถูกหลอกฝังแอปฯมัลแวร์ธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทย ชี้แจงกรณีผู้เสียหายร้องเรียนจากเหตุการใช้งานสายชาร์จปลอมแล้วถูกดูดข้อมูลและโอนเงินออกจากบัญชีว่า ตามที่ปรากฎข่าวพบผู้เสียหายจากการใช้งานสายชาร์จปลอมแล้วถูกดูดข้อมูลและโอนเงินออกจากบัญชีนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้หารือสมาคมธนาคารไทย เพื่อตรวจสอบกรณีดังกล่าวแล้ว พบว่ามิได้เกิดจากการใช้งานสายชาร์จปลอม แต่เกิดจากผู้เสียหายถูกมิจฉาชีพหลอกลวงให้ติดตั้งแอปพลิเคชันปลอมที่แฝงมัลแวร์ ทำให้มิจฉาชีพล่วงรู้ข้อมูลการทำธุรกรรมของลูกค้า และควบคุมเครื่องโทรศัพท์เพื่อสวมรอยทำธุรกรรมแทนจากระยะไกล เพื่อโอนเงินออกจากบัญชี โดยอาจเลือกทำธุรกรรมในช่วงเวลาที่ผู้เสียหายไม่ไ
อ่านเพิ่มเติม »

'นฤมล' เปิดบ้านต้อนรับ 'ฮูวัยดีย๊ะ' เข้าร่วมงาน พปชร. คาดเตรียมลุยภาคใต้'นฤมล' เปิดบ้านต้อนรับ 'ฮูวัยดีย๊ะ' เข้าร่วมงาน พปชร. คาดเตรียมลุยภาคใต้วันที่ 18 มกราคม 2566 นางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์ เหรัญญิก พรรคพลังประชารัฐ (พปชร.) โพสต์เฟซบุ๊กว่า 'ยินดีต้อนรับ พี่ยะ ฮูวัยดีย๊ะ พิศสุวรรณ อุเซ็ง ทายาททางการเมืองผู้สืบทอดปณิธานของ นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนผู้ล่วงลับ นับเป็นผู้หญิงมุสลิมเพียงไม่กี่คนของสังคมมุสลิมที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์การทำงานทางการเมืองมาอย่างยาวนาน'
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-19 16:12:10