ตรวจแถว Q2 ‘บริโภค ส่งออก ลงทุน’ ธุรกิจผวาเงินเฟ้อ กัดเซาะ เศรษฐกิจ มติชนออนไลน์ เศรษฐกิจไทย เงินเฟ้อ บริโภคส่งออกลงทุน
กําลังผ่านพ้นไตรมาสแรกปี 2566 เข้าสู่ไตรมาส 2 ที่มาพร้อมกับช่วงจัดการเลือกตั้งครั้งใหญ่ในไทย ดังนั้น การเมืองไทยจะร้อนแรงไม่แพ้ความขัดเแย้งของสงครามภูมิรัฐศาสตร์ที่เกิดขึ้นยืดเยื้อในขณะนี้ จึงใช้โอกาสนี้ตรวจแถวทิศทางการใช้จ่าย การบริโภค การลงทุน และการส่งออก เสาหลักขับเคลื่อนประเทศ เพื่อให้คนไทยและธุรกิจได้รู้เขารู้เราและรู้ว่าจะตั้งรับกันอย่างไร!ขึ้นมาต้นปี 2566 ทุกภาคส่วนมองภาพสวย ความเชื่อมั่นดีขึ้น มุมมองต่อเศรษฐกิจไทย เชื่อว่าผ่านจุดต่ำสุดมาแล้ว...
สะท้อนได้จากตัวเลขเศรษฐกิจที่ประกาศออกมา พบว่า น้อยกว่าคาดไว้ อย่างผลประกอบการบริษัทจดทะเบียน ไทย ไม่ได้สดใสเท่ากับที่คาดหวังไว้ และส่วนใหญ่ต่ำกว่าคาดการณ์ด้วย ภาคส่งออกเดือนมกราคมยังติดลบต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 นำเข้ามากขึ้น จนไทยขาดดุลการค้าทำสถิติ 10 ปี แต่ยังหายใจได้คล่องกับเงินบาทกลับมาอ่อนค่า มองกันถึงหลุด 35 บาทต่อเหรียญสหรัฐ เงินลงทุนต่างชาติเน้นเข้าเร็วออกไว เพื่อเก็งกำไรมากกว่าลงทุนยาว!!ที่หนักอกสุดในตอนนี้ คือ ภาวะเงินเฟ้อทั่วโลก ไม่ได้ลดลง...
“ทำให้กำลังซื้อที่ยังพอมีอยู่และเติบโตได้ กระจุกตัวอยู่ในระดับกลางบน ถึงระดับบนขึ้นไปเป็นหลัก รวมถึงอยู่แค่ในจังหวัดหลักๆ ที่ได้รับความนิยมในการเดินทางท่องเที่ยวของทั้งคนไทยและต่างชาติสูงเท่านั้นด้วย จึงประเมินว่าการเกิดภาวะเงินเฟ้อในด้านอุปสงค์ที่เพิ่มมากขึ้นนั้น อาจเกิดได้บ้าง แต่ไม่ได้มากเท่าที่กังวลไว้”สิ่งที่จะเกิดขึ้นแน่นอนในช่วงถัดจากนี้ คือ การผลักภาระต้นทุนให้กับผู้บริโภคมากขึ้น เพราะในปี 2565 แม้มีการปรับต้นทุนขึ้นในหลายสินค้าและบริการ...
สำหรับความกังวลเงินเฟ้อยุโรปและสหรัฐที่อาจพุ่งแรงขึ้น ส่งผลต่อภาพรวมเศรษฐกิจโลก และเศรษฐกิจไทยนั้น มองว่าแม้มีการปรับขึ้นดอกเบี้ยเพื่อสกัดเงินเฟ้ออย่างต่อเนื่องนั้น แต่ภาพเศรษฐกิจที่ประเมินว่ายังไม่เข้าสู่ภาวะถดถอยอย่างที่กังวลกัน ทำให้ช่องว่างการเติบโตของอัตราค่าจ้างงาน ยังเป็นส่วนช่วยสนับสนุนการใช้จ่ายของคนไทย ส่วนผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ผ่านภาคการท่องเที่ยวนั้น ประเมินว่าไม่น่าจะโดนกระทบ เพราะเป็นเรื่องของการเปิดประเทศท่องเที่ยว ทำให้คนที่อัดอั้นต้องการออกเดินทางเที่ยวมากอยู่...
การทยอยประกาศนโยบายของแต่ละพรรคการเมือง ที่เริ่มเดินหน้าหาเสียงกันอย่างต่อเนื่องนั้น ขณะนี้ยังไม่เห็นภาพชัดเจน ว่าจะสามารถตอบโจทย์กับทิศทางเศรษฐกิจในระยะต่อไป ตามที่ประเมินไว้ โดยมองเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.นโยบายการให้เงินช่วยเหลือ อาทิ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐยังดำเนินต่อไป 2.การปรับเพิ่มค่าแรงงานขั้นต่ำ ที่อาจช่วยเพิ่มกำลังซื้อระดับล่างได้ แต่ก็ต้องดูว่าจะกระทบกับภาคธุรกิจโดยเฉพาะเอสเอ็มอีหรือไม่ และ 3.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
บาทอ่อนแตะ 35 ส่งออก-นำเข้าป่วน ต่างชาติเที่ยวไทยได้อานิสงส์เงินทุนไหลออกเดือนกุมภาพันธ์กว่า 4.2 หมื่นล้าน เฟดส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยอีก กดบาทอ่อนค่ามากสุดรอบ 4 เดือน ส่งออก-นำเข้ากุมขมับคำนวณราคาซื้อขายยาก สมาคมโรงแรมฯชี้ต่างชาติได้อานิสงส์เที่ยวไทย
อ่านเพิ่มเติม »
ส่งออก-นำเข้าป่วน บาทอ่อนค่ารอบ 4 เดือน ผวาขาดทุน จี้ทำประกันความเสี่ยงบาทอ่อนค่ารอบ 4 เดือน ส่งออก-นำเข้าเป่าปาก คำนวณราคาซื้อขายยาก ชี้ผลพวงเงินทุนไหลออกลงทุนสหรัฐฯรับเศรษฐกิจฟื้น ดอกเบี้ยขาขึ้น สรท.แนะผู้ประกอบการทำฟอร์เวิร์ด พร้อมขอแบงก์เพิ่มวงเงินทำประกันความเสี่ยงค่าเงิน ชี้ค่าบาท 34-35 บาทต่อดอลลาร์เหมาะสม แข่งขันได้
อ่านเพิ่มเติม »
เข้ม นำเข้า-ส่งออก 'ทุเรียนแช่เยือกแข็ง' ผิด ระงับใบรับรองทันทีอธิบดีกรมวิชาการเกษตร สั่งคุมเข้ม นำเข้า-ส่งออก 'ทุเรียนแช่เยือกแข็ง' พบผิด ระงับใบรับรองทันที หวั่น สวมสิทธิทุเรียนไทย ทุเรียน ล้งทุเรียน ทุเรียนแช่แข็ง คมชัดลึก
อ่านเพิ่มเติม »
'รสนา' ยันทำได้จริงข้อเสนอ 'มิ่งขวัญ' ปรับลดราคาน้ำมันเบนซินลง 18 บาทและลดดีเซลลง 6 บาทรสนา ชี้ มิ่งขวัญเสนอลดราคาน้ำมันเบนซินลง 18 บาทและลดดีเซลลง 6 บาท สามารถทำได้จริง โดยใช้ราคาเนื้อน้ำมันหน้าโรงกลั่นเป็นราคาเดียวกับ “ส่งออก” ยกเลิกกองทุนน้ำมัน ลดค่าการตลาด ภาษี และยกเลิกกองทุนอนุรักษ์พลังงาน แถมตัวเลขปรับลดร
อ่านเพิ่มเติม »