ดีอีเอส เตือนอย่าหลงเชื่อ-อย่าแชร์คลิปเสียงปลอม สร้างเสมือนจริงหลอกประชาชน อินโฟเควสท์
น.ส.
“จากเทคโนโลยีดังกล่าว ทำให้กลุ่มมิจฉาชีพนำมาใช้ในการแชทปลอม โพสต์ปลอม ผ่าน Social Maker ที่สร้างโพสต์ปลอม,ข้อความปลอม,ความคิดเห็นปลอม และสร้างโปรไฟล์ปลอม ใน 3 แพลตฟอร์ม ในโซเชียลมีเดีย คือ Facebook, Instagram และ Twitter รวมถึงโปรแกรมแชท Messenger, Message ต่างๆ สร้างความเข้าใจผิดและหลอกลวง เป็นภัยสังคมอยู่ในขณะนี้”โดยการปลอมภาพคลิปด้วย Deepfake สร้างภาพความคมชัดสูง และท่าทางที่เสมือนจริงมากขึ้น การแปลงเสียง Voice changer/Jokesphone ปลอมเสียงได้ง่ายๆ ผ่านแอปพลิเคชั่นต่างๆ ที่เปลี่ยนน้ำเสียง...
สำหรับเทคโนโลยีในการปลอมแปลง เช่น Deepfake, Social Maker และ Fake voice เป็นที่นิยมของคนไทยนำมาใช้ รวมทั้งแอปพลิเคชั่นแชทต่างๆ มักนำมาใช้กันจนเป็นปกติ ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวสามารถปลอมเสียง ปลอมแชท ปลอมคลิป เปลี่ยนเรื่องปลอมๆ ให้สมจริง นับเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำ เลียนแบบสิ่งที่มีอยู่จริง หรือเข้าใกล้ความจริงมากขึ้น เป็นวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ที่ช่วยผลักดันให้สะดวกสบายมากขึ้น...
ขณะนี้ในสื่อสังคมออนไลน์มีการส่งต่อคลิปเสียง คลิปปลอม ที่สร้างเรื่องเพื่อหลอกลวงหาผลประโยชน์จำนวนมาก โดยมีประชาชนร้องเรียนผ่านกระทรวงดีอีเอสและหลายหน่วยงาน เปิดช่องทางให้ประชาชนที่เดือดร้อนจากปัญหาคดีออนไลน์และอาชญากรรมทางเทคโนโลยี สามารถแจ้ง และเข้าถึงความช่วยเหลือได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น หากพบเบาะแสสามารถแจ้งข้อมูลได้ผ่านช่องทางต่างๆ โทร.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ดีอีเอส เตือนอย่าเชื่อข่าวปลอมอ้างชื่อองค์กรยักษ์ใหญ่หลอกลวงชวนลงทุน-กู้เงินทิพย์ : อินโฟเควสท์นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมฝ่ายการเมือง (ดีอีเอส) กล่าวสรุปสถานการณ์ข่าวปลอมสัปดาห์ล่าสุด (29 ก.ค.- 4 ส.ค. 65) พบข่าวอ้างชื่อองค์กรยักษ์ทั้งแบงก์ใหญ่ ปตท. ประกันสังคม และเฟซบุ๊ก-ไลน์อ้างชื่อ ก.ล.ต. หลอกลวงชวนลงทุนทิพย์และกู้เงินทิพย์ โดยศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม พบการแพร่กระจายข่าวปลอมเชิญชวนลงทุน โดยอ้างชื่อองค์กรซึ่งเป็นที่รู้จักและน่าเชื่อถือ ขณะที่ ข่าวปลอมเกี่ยวกับสินเชื่อ/เงินกู้ด่วนก็ยังมีต่อเนื่อง เพิ่มเติมคือนอกเหนือจากอ้างชื่อแบงก์ใหญ่ ยังมีการอ้างชื่อหน่วยงานรัฐอย่าง สำนักงานประกันสังคมอีกด้วย สำหรับข่าวปลอมที่มีคนสนใจสูงสุด 10 อันดับในระหว่างสัปดาห์ล่าสุด มีตามลำดับ ดังนี้ สถานีกลางบางซื่อนำวัคซีนโมเดอร์นาหมดอายุมาฉีดให้ประชาชน ผู้ที่มีอายุมากกว่า 19 ปี ลงทะเบียนรับเงินช่วยเหลือการว่างงานจากรัฐบาล จำนวน 10,000 บาท สัมผัสสารกันบูดในปลาทูนึ่ง ทำให้เป็นมะเร็งที่มือ กรุงไทยปล่อยสินเชื่อเงินด่วน STREET NONEY วงเงิน 5,000 – 500,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 2 บาท ตรวจสอบสิทธิเกี่ยวกับ สปสช. ได้ทางไลน์ check-sith เพจ …
อ่านเพิ่มเติม »
รมว.ดีอีเอส ไฟเขียวเพิ่ม 15 พื้นที่สู่โครงการเมืองอัจฉริยะ : อินโฟเควสท์นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและบริหารโครงการเมืองอัจฉริยะ ครั้งที่ 1/2565 เห็นชอบแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ จำนวน 15 พื้นที่ ใน 14 จังหวัด ประกอบด้วย 1) นครระยองเมืองอัจฉริยะและน่าอยู่ จังหวัดระยอง 2) คันทรงโมเดล เมืองแห่งความสุขที่พึงประสงค์และสังคมแห่งการแบ่งปัน จังหวัดชลบุรี 3) การพัฒนาเมืองอัจฉริยะของพื้นที่ในจังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 4) โครงการพิษณุโลกนครอัจฉริยะอย่างยั่งยืน จังหวัดพิษณุโลก 5) นครเชียงรายสู่เมืองอัจฉริยะ จังหวัดเชียงราย 6) เมืองน่านสู่เมืองอัจฉริยะ จังหวัดน่าน 7) โคราชเมืองอัจฉริยะ จังหวัดนครราชสีมา Smart City อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 9) กระบี่เมืองอัจฉริยะ จังหวัดกระบี่ 10) จังหวัดพังงาสู่เมืองอัจฉริยะ จังหวัดพังงา 11) Satun Smart City จังหวัดสตูล 12) พัฒนาเทศบาลนครเกาะสมุย …
อ่านเพิ่มเติม »
รัฐบาลเตือนอย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพใช้โลโก้ธนาคารโฆษณาเงินกู้ทางสื่อออนไลน์ : อินโฟเควสท์น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ขณะนี้ได้ปรากฏกรณีมิจฉาชีพหลอกลวงประชาชนด้วยการโฆษณาบริการให้สินเชื่อผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น เพจเฟซบุ๊ก แอปพลิเคชั่นไลน์ และบางกรณีได้สร้างความน่าเชื่อถือโดยการนำโลโก้ของธนาคารต่างๆ มาเป็นภาพโปรไฟล์ จึงขอเตือนให้ประชาชนที่พบข้อความโฆษณาสินเชื่อ หรือมีการชักชวนให้กู้ในโซเชียลมีเดีย อย่าเพิ่งหลงเชื่อโดยง่าย ขอให้ตรวจสอบข้อมูลอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ที่ผ่านมาได้มีผู้เสียหายหลงเชื่อและสูญเงินให้มิจฉาชีพมาแล้วหลายราย ซึ่งกลโกงมีลักษณะเหมือนกันคือ การโฆษณาจูงใจด้วยการให้วงเงินกู้สูง ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติง่าย ผ่อนนาน เมื่อเหยื่อให้ความสนใจจะให้กรอกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลทางการเงินผ่านเว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชั่น โดยอ้างว่าเป็นไปตามขึ้นตอนการยื่นขอกู้และทำสัญญากู้ จากนั้นจะหลอกให้โอนเงินค่าดำเนินการต่างๆ เช่น ค่าเปิดบัญชี, เงินค้ำประกัน ค่าแก้ไขเอกสาร แต่สุดท้ายเหยื่อก็ไม่ได้รับเงินกู้ตามที่ตกลง น.ส.ไตรศุลี กล่าวว่า เนื่องจากปัจจุบันมีสื่อที่หลากหลายที่มิจฉาชีพใช้เข้าถึงตัวเป้าหมายได้ จากก่อนหน้านี้เป็นแก๊งค์คอลเซ็นเตอร์ ตอนนี้เริ่มปรากฏการหลอกลวงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งประชาชนต้องรู้เท่าทันกลโกงที่จะเปลี่ยนรูปแบบไปเรื่อยๆ ซึ่งกรณีการโฆษณาในโซเชียลมีเดียต้องมีการตรวจสอบอย่างรอบคอบ โดยหากพบการใช้ภาพโลโก้ของธนาคารต่างๆ ขอให้ตรวจสอบกับธนาคารที่ปัจจุบันมีช่องทางให้สอบถามหลากหลายและสะดวก ไม่ว่าจะเป็นเพจเฟซบุ๊ค Line OA หรือสายด่วนของธนาคารว่ามีบริการตามโฆษณาจริงหรือไม่ หากพบว่าเป็นการแอบอ้างของมิจฉาชีพก็สามารถชี้เบาะแสแก่ธนาคารเพื่อดำเนินการตามกฎหมายต่อไป “ธนาคารหลายแห่งได้ออกมาเตือนกรณีที่มีการใช้โลโก้ธนาคารไปเป็นภาพโปรไฟล์ในโซเชียลมีเดีย เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและหลอกลวงประชาชน เช่น ธกส. ออมสิน ซึ่งธนาคารย้ำว่าไม่มีนโยบายการปล่อยสินเชื่อผ่านแอปพลิเคชั่น หรือไลน์ไปคุยกับลูกค้า หากพบมีการแอบอ้างขอให้เช็คกับธนาคารโดยตรง หรือแจ้งเบาะแสกับธนาคารเพื่อดำเนินการตามกฎหมาย และย้ำเตือนว่าหากมีการพูดคุยให้โอนเงินเพื่อชำระค่าดำเนินการต่างๆ …
อ่านเพิ่มเติม »
ดีอีเอส ไฟเขียวเพิ่ม 15 พื้นที่เมืองอัจฉริยะดีอีเอส ไฟเขียวเพิ่ม 15โครงการพัฒนา พื้นที่ เมืองอัจฉริยะ ใน 14 จังหวัดทั่วไทย ปูพรมจังหวัดจำคัน ชลบุรี ระยอง พิษณุโลก เกาะสมุย สงขลา กระจายความเจริญ เมืองแห่งความสุข
อ่านเพิ่มเติม »
'ชัยวุฒิ' สั่งจัดระเบียบสายสื่อสาร จ.หนองคาย“ชัยวุฒิ” รมว.ดีอีเอส ลุยต่อเนื่องสั่งการ NT เร่งจัดระเบียบสายสื่อสารหลายพื้นที่ใน จ.หนองคาย ประกาศปีหน้าเก็บสายลงใต้ดินครบ
อ่านเพิ่มเติม »
สธ.เผยติดตามสถานการณ์โรคฝีดาษลิงอย่างใกล้ชิด คาดนำเข้าวัคซีนปลาย ส.ค.นี้ : อินโฟเควสท์นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า สถานการณ์โรคฝีดาษวานร (ฝีดาษลิง) ในประเทศไทยขณะนี้พบผู้ป่วยยืนจำนวน 4 ราย เป็นชาวต่างชาติ 2 ราย และสัญชาติไทย 2 ราย จากการเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ป่วยพบอาการป่วยไม่รุนแรง แม้ยังไม่มียารักษาเฉพาะ โรคนี้สามารถหายได้เองในระยะ 2-4 สัปดาห์ โดยให้ยารักษาตามอาการ และไม่ได้ติดต่อกันได้ง่ายๆ ความเสี่ยงที่จะติดโรคนั้น ส่วนใหญ่มาจากการสัมผัสรอยโรคผิวหนัง เช่น ผื่น ตุ่มหนอง สารคัดหลั่ง หรือสัมผัสใกล้ชิดมากๆ กับผู้ป่วย หรือบาดแผลของผู้ป่วย รวมทั้งการติดต่อผ่านทางละอองทางเดินหายใจจากการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย เช่น หน้าแนบหน้า ด้านการป้องกันควบคุมโรค องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำให้ใช้วัคซีนป้องกันโรคในกลุ่มที่จำเป็น เช่น บุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า ซึ่งสิ่งที่สำคัญอันดับแรก คือ การป้องกันโรคโดยไม่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย งดเพศสัมพันธ์กับคนแปลกหน้า หรือไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น และล้างมือบ่อยๆ เพื่อป้องกันติดเชื้อจะเป็นการดีที่สุด แม้ปัจจุบันมีการพัฒนาวัคซีนรุ่นใหม่ๆ แล้วแต่ยังต้องติดตามข้อมูลผลข้างเคียงและประสิทธิภาพของวัคซีนเมื่อใช้จริงในประชากร ทั้งนี้ ประเทศไทยได้สั่งจองวัคซีนป้องกันฝีดาษไปแล้ว และคาดว่าจะนำเข้ามาประมาณปลายเดือน ส.ค.65 …
อ่านเพิ่มเติม »