ชี้ตำหนิเอกลักษณ์แม่พิมพ์ ของพระเปิม ลำพูนอันเลื่องลือ

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ชี้ตำหนิเอกลักษณ์แม่พิมพ์ ของพระเปิม ลำพูนอันเลื่องลือ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 70 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 31%
  • Publisher: 63%

สัปดาห์พระเครื่อง / ราม วัชรประดิษฐ์ อาทิตย์นี้เราจะมาพูดคุยถึงแนวทางในการพิจารณาเอกลักษณ์แม่พิมพ์ ของ พระเปิม จ.

อาทิตย์นี้เราจะมาพูดคุยถึงแนวทางในการพิจารณาเอกลักษณ์แม่พิมพ์ ของ พระเปิม จ.

พุทธลักษณะพระเปิม องค์พระประธานประทับนั่งขัดสมาธิเพชร แสดงปางมารวิชัย เหนืออาสนะฐาน 3 ชั้น มีผ้าทิพย์ ปูรองอีก ชั้นหนึ่ง พื้นหลังเป็นผนังโพธิ์ พระเศียรโล้น ปรากฏเม็ดพระศกและไรพระศกชัดเจนพุทธลักษณะองค์พระประธานประทับนั่งขัดสมาธิเพชร แสดงปางมารวิชัย เหนืออาสนะฐาน 3 ชั้น มีผ้าทิพย์ปูรองอีกชั้นหนึ่ง พื้นหลังเป็นผนังโพธิ์ พระเศียรโล้น ปรากฏเม็ดพระศกและไรพระศกชัดเจน

พระพักตร์เป็นแบบแตงโมผ่าซีก หรือเรียกว่า “หน้าแป้น” พระปรางอิ่ม พระขนงนูนและต่อกันแบบนกบิน พระเนตรนูนเกือบกลมรี ช่วงหัวและท้าย คล้ายเม็ดงา พระนาสิกบาน ไม่โด่งมาก พระโอษฐ์ปรากฏชัดเจน มีจุดสังเกตและแนวทางการพิจารณาเอกลักษณ์ แม่พิมพ์ในเบื้องต้นดังนี้ ตำหนิที่ 1 พระพักตร์เป็นแบบแตงโมผ่าซีก หรือเรียกว่า “หน้าแป้น” พระปรางอิ่ม พระขนงนูน และต่อกันแบบนกบิน พระเนตรนูนเกือบกลมรี ช่วงหัวและท้าย คล้ายเม็ดงา พระนาสิกบาน ไม่โด่งมาก พระโอษฐ์ปรากฏชัดเจน ตำหนิที่ 3 พระวรกายค่อนข้างลํ่าสัน จีวรแบบห่มคลุม...

ตำหนิที่ 4 พระอุระกว้างแต่แบนราบ ปรากฏพระถันทั้ง 2 ข้างชัดเจน พระนาภีบุ๋มลึก อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะประการหนึ่ง ตำหนิที่ 6 กิ่งโพธิ์มีใบโพธิ์ทุกกิ่ง ลักษณะวางหลังใบเหมือนใบลาน ส่วนใบโพธิ์มีลักษณะคล้ายใบมะยมและมีมากเป็นพิเศษ ส่วนขอบทั้ง 2 ข้างเป็นเส้นเล็กๆ ฐานชั้นกลางเป็นเส้นเล็กนูน ส่วนฐานชั้นล่างนั้น ต่อเนื่องกับสุดขอบพระปรากฏรางๆ

ส่วนพุทธคุณนั้นนับได้ว่าสูงส่งในด้านคงกระพันชาตรีเป็นที่ปรากฏเช่นเดียวกับพระคง โดยเฉพาะเรื่องอาวุธหนัก เรื่องตีรันฟันแทง นอกจากนี้ยังเด่นในด้านมหาอุดอีกด้วยครับผม

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

แนวทางการพิจารณาจุดชี้ตำหนิ พระมเหศวร พิมพ์หน้าใหญ่(นิยม) กรุวัดพระศรีมหาธาตุ สุพรรณบุรีแนวทางการพิจารณาจุดชี้ตำหนิ พระมเหศวร พิมพ์หน้าใหญ่(นิยม) กรุวัดพระศรีมหาธาตุ สุพรรณบุรีสัปดาห์พระเครื่อง / ราม วัชรประดิษฐ์ พระมเหศวร กรุวัดพระศรีมหาธาตุ จังหวัดสุพรรณบุรี 1 ใน 5 พระยอดขุนพลของเมืองไทย เป็นพระ พิมพ์ที่เป็นที่นิยมมาแต่โบราณ บางคนเข้าใจว่าเป็นชื่อของจอมโจรคนดังแถบเมืองสุพรรณนามว่า 'เสือมเหศวร' แต่ความจริงไม่เกี่ยวกันเลย ชื่อ 'พระมเหศวร' มาจากเอกลักษณ์ขององค์พระที่มีรูปพระทั้งสองด้าน...
อ่านเพิ่มเติม »

สิ้นชีพิตักษัย 'ม.จ.ปุสาณ สวัสดิวัตน์' พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4สิ้นชีพิตักษัย 'ม.จ.ปุสาณ สวัสดิวัตน์' พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4ม.จ.จุลเจิม ยุคล โพสต์ข้อความในเฟซบุ๊กระบุว่า “ขอแสดงความอาลัยต่อ ราชตระกูล สวัสดิวัตน์ ต่อการสิ้นชีพิตักษัย ของ พลเรือเอก นายแพทย์ หม่อมเจ้า ปุสาณ ส
อ่านเพิ่มเติม »

เอกลักษณ์แม่พิมพ์ พระหูยาน พิมพ์ใหญ่ กรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.ลพบุรีเอกลักษณ์แม่พิมพ์ พระหูยาน พิมพ์ใหญ่ กรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.ลพบุรีสัปดาห์พระเครื่อง / ราม วัชรประดิษฐ์ 'ถ้าเป็นพระพิมพ์ยืนต้องยกให้พระร่วงหลังลายผ้า แต่ถ้า พระพิมพ์นั่งล่ะก็ต้องเป็นพระหูยาน ลพบุรี' เป็นคำฮิตติดเป็นคอนเทนต์ในแวดวงนักนิยมสะสมพระเครื่องทั่วประเทศและค่อนข้างคุ้นหูกับคำกล่าวที่ไม่เกินจริงเลยเกี่ยวกับสองสุดยอดในพระชุดเบญจภาคีประเภทเนื้อชิน เรียกได้ว่าเป็นพระเครื่องอันดับหนึ่งของจังหวัด...
อ่านเพิ่มเติม »

กำเนิดพระพุทธรูปสมัยลพบุรี ศิลปะแบบบายนกำเนิดพระพุทธรูปสมัยลพบุรี ศิลปะแบบบายนสัปดาห์พระเครื่อง / ราม วัชรประดิษฐ์ เราอาจรู้จักศิลปะขอมแบบบายนได้ จากอาการแสดงความรู้สึกที่เร้นลับและใบหน้าที่อมยิ้ม ซึ่งหมายถึง การใส่ความรู้สึกลงในประติมากรรม อันเป็นลักษณะเฉพาะที่สำคัญของศิลปะแบบบายน บายน (Bayon) เป็นชื่อเรียกศิลปะของเขมรระยะสุดท้ายในยุค Angkorian Period หรือยุคเขมรเมืองพระนคร ในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (1724-1761)...
อ่านเพิ่มเติม »

เอกลักษณ์แม่พิมพ์ของ พระสมเด็จอรหัง พิมพ์ฐานคู่ วัดมหาธาตุ กทมเอกลักษณ์แม่พิมพ์ของ พระสมเด็จอรหัง พิมพ์ฐานคู่ วัดมหาธาตุ กทมสัปดาห์พระเครื่อง / ราม วัชรประดิษฐ์ พระสมเด็จอรหัง ซึ่งเชื่อกันว่าพระชนิดนี้เป็นพระที่สมเด็จพระสังฆราชสุก ญาณสังวร (ไก่เถื่อน) เป็นผู้สร้างไว้ที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ เป็นพระคณาจารย์ผู้ชํ่าชองพระกัมมัฏฐาน เป็นที่เคารพสักการะแห่งชนทั้งหลาย ทรงไว้ซึ่งพรหมวิหารธรรม มีเมตตาแก่กล้านัก ถึงกับสามารถเลี้ยงไก่เถื่อนให้เชื่องได้เสมอด้วยไก่บ้าน ฉะนั้น...
อ่านเพิ่มเติม »

เอกลักษณ์แม่พิมพ์ของพระกำแพงลีลาเม็ดขนุนเอกลักษณ์แม่พิมพ์ของพระกำแพงลีลาเม็ดขนุนสัปดาห์พระเครื่อง / ราม วัชรประดิษฐ์ “พุทธลักษณะของพระกำแพงลีลาเม็ดขนุนก้าวย่างไปข้างหน้า ส่วนพระกำแพงลีลาพลูจีบท่านกำลังจะเหาะ” “พระกำแพงลีลาเม็ดขนุน” มีลักษณะคล้ายเม็ดขนุน ซึ่งนักนิยมพระรุ่นเก่ามักเรียกกันว่า “พระกำแพง เขย่ง” พบบริเวณลานทุ่งเศรษฐี แถบวัดพิกุล วัดบรมธาตุ วัดอาวาสน้อย และบริเวณทั่วๆ ไป มีจำนวน ไม่มากนักเมื่อเทียบกับ...
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-06 21:42:59