ฉีดวัคซีน แอสตร้าฯ ป้องกันโควิด ไม่ทำให้มีความเสี่ยงเป็น 'โรคฝีดาษลิง'

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ฉีดวัคซีน แอสตร้าฯ ป้องกันโควิด ไม่ทำให้มีความเสี่ยงเป็น 'โรคฝีดาษลิง'
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 amarintvhd
  • ⏱ Reading Time:
  • 58 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 26%
  • Publisher: 53%

ฉีดวัคซีน แอสตร้าฯ ป้องกันโควิด ไม่ทำให้มีความเสี่ยงเป็น 'โรคฝีดาษลิง' AmarinTV34 อมรินทร์ทีวีเอชดีช่อง34 AmarinNews วัคซีน โควิด ฝีดาษลิง

กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ...

เมื่อคนรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะมีระยะฟักตัวประมาณ 7-14 วัน อาจนานถึง 21 วัน โดยอาการเริ่มแรกจะมีไข้ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ต่อมน้ำเหลืองโต หนาวสั่น อ่อนเพลีย จากนั้นประมาณ 1-3 วัน จะมีผื่นขึ้นบริเวณแขนขา และอาจจะเกิดบนหน้าและลำตัวได้ด้วย ผื่นจะกลายเป็นตุ่มหนอง ในระยะสุดท้ายตุ่มหนองจะเป็นสะเก็ดแล้วหลุดออกมา อาการป่วยจะประมาณ 2-4 สัปดาห์ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากโรคเองได้ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคฝีดาษลิงที่เฉพาะเจาะจง แต่สามารถควบคุมการระบาดได้ด้วย การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ...

ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมควบคุมโรค สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www.ddc.moph.go.th หรือโทร 1422 ได้ตลอด 24 ชม. บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

amarintvhd /  🏆 40. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

นายกฯ แนะ สธ. ให้ความรู้ประชาชน'โรคฝีดาษลิง'เรียนรู้แต่ไม่ตื่นตระหนกนายกฯ แนะ สธ. ให้ความรู้ประชาชน'โรคฝีดาษลิง'เรียนรู้แต่ไม่ตื่นตระหนกนายกฯ แนะสธ.ให้ความรู้ประชาชน 'โรคฝีดาษลิง' หวังเรียนรู้แต่ไม่ตื่นตระหนก PPTVHD36 PPTVNews ช่อง36 เรื่องข่าวเรื่องใหญ่ โรคฝีดาษลิง ฝีดาษลิง โฆษกรัฐบาล
อ่านเพิ่มเติม »

'โรคฝีดาษลิง' ข้อมูลชัดน่ากังวลหรือไม่ วัคซีนฝีดาษคนช่วยป้องกันได้สูง'โรคฝีดาษลิง' ข้อมูลชัดน่ากังวลหรือไม่ วัคซีนฝีดาษคนช่วยป้องกันได้สูง'โรคฝีดาษลิง' หมอเฉลิมชัยให้ข้อมูลชัดเจนน่ากังวลมากแค่ไหน ติดต่อได้ทางอากาศ กลายพันธุ์ได้เร็วหรือไม่ ระบุชัดวัคซีนฝีดาษคนช่วยป้องกันได้สูง คมชัดลึกออนไลน์ ฝีดาษลิง ผู้ป่วยฝีดาษลิง โรคฝีดาษลิง MONKEYPOX
อ่านเพิ่มเติม »

นายกฯแนะสธ.ให้ความรู้ 'โรคฝีดาษลิง' หวังประชาชนเรียนรู้แต่ไม่ตื่นตระหนกนายกฯแนะสธ.ให้ความรู้ 'โรคฝีดาษลิง' หวังประชาชนเรียนรู้แต่ไม่ตื่นตระหนกวันนี้ (22 พ.ค.65) นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แนะกระทรวงสาธารณสุขติดตามพัฒนาการขอ
อ่านเพิ่มเติม »

สธ.ตั้งศูนย์ปฏิบัติการ เฝ้าระวัง'โรคฝีดาษลิง'สธ.ตั้งศูนย์ปฏิบัติการ เฝ้าระวัง'โรคฝีดาษลิง'สธ.ตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรณีโรคฝีดาษลิง เพื่อเฝ้าระวัง คัดกรองผู้เดินทางจากประเทศที่มีการระบาด ช่วยให้ตรวจจับกลุ่มเสี่ยงได้รวดเร็วขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »

ฝีดาษลิงโรคติดต่อจากสัตว์ แพทย์เตือน พบไม่บ่อยแต่อันตรายถึงแก่ชีวิตฝีดาษลิงโรคติดต่อจากสัตว์ แพทย์เตือน พบไม่บ่อยแต่อันตรายถึงแก่ชีวิตโรคฝีดาษลิง เป็นโรคติดต่อจากสัตว์ตระกูลแทะ เช่น หนู ลิงไม่มีหาง และกระต่าย มีอัตราเสียชีวิตสูงถึง 10 เปอร์เซ็น แม้พบได้ไม่บ่อยแพทย์ผิวหนังแนะนำให้สังเกตอาการและป้องกันตัวเองเบื้องต้นเพื่อเลี่ยงความเสี่ยง อ่านเพิ่มเติม SPRiNG ฝีดาษลิง โรคติดต่อ
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-14 17:07:41