จูบใครคิดว่าไม่สำคัญ! 'หมอดื้อ' ชี้เป็นเรื่องหนึ่งของมนุษย์ที่ไม่น่าจะธรรมดา

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

จูบใครคิดว่าไม่สำคัญ! 'หมอดื้อ' ชี้เป็นเรื่องหนึ่งของมนุษย์ที่ไม่น่าจะธรรมดา
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 99 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 43%
  • Publisher: 63%

วันที่ 28 ก.ย.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความลงในเฟซบุ๊กส่วนตัว 'ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha' ระบุว่า...

วันที่ 28 ก.ย.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความลงในเฟซบุ๊กส่วนตัว"ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha" ระบุว่า...สมัยหมอเด็กๆเคยได้ยินเพลงชื่อนี้.......จูบเบาๆเท่านั้นมันทำฉันสั่นไปถึงหัวใจ เนื้อเพลงผิดถูกไปบ้างขออภัยครับ

การจูบไม่ว่าจะหนัก เบา นุ่มนวล หิวกระหาย ตะกรุม ตะกราม จูบแบบอายๆ รักใคร่อ่อนโยน มีเพื่อสนองความต้องการ ความอยาก ก่อให้เกิดปฏิกริยาทางสื่อประสาทและเคมี ซึ่งปลุกเร้าระบบสัมผัส ความตื่นเต้นทางเพศ ความรู้สึกผูกพัน เกิดแรงผลักดัน หรือ เกิดความปิติอิ่มเอมใจ และแน่นอนการตอบสนองทางกาย ทั้งในระดับที่ควบคุมได้และไม่ได้ทางระบบประสาทอัตโนมัติทั้งนี้เนื่องจากความเชื่อจากผลการวิจัยระยะหลัง เช่น จากนักจิตวิทยาวิวัฒน์ Gordon G. Gallup, Jr.

นักชีววิทยา Sarah Woodley จาก Duquesne University ตั้งข้อสังเกตุว่าในคนน่าจะมีอวัยวะในการรับฟีโรโมนในจมูกเช่นกัน การสานสันพันธ์โดยผ่านทางชีวเคมี เกิดขึ้นได้จริง ดังเช่น สาวๆ ขณะที่อยู่ในรอบประจำเดือนระยะหนึ่งมักจะถูกดึงดูดเข้ากับกลิ่นเหงื่อของหนุ่ม ที่มียีนของระบบภูมิคุ้มกันทื่เข้ากันได้ ในที่สุด สำหรับเคมีต้องกันทางประสาทวิทยาศาสตร์ การจูบนั้นจุดกลไกของประสาทตั้งแต่เมื่อริมฝีปากใกล้จะประกบกันโดยได้รับกลิ่นและเมื่อประกบกันแล้ว ผ่านทางประสาทสัมผัส ก่อนที่จะจุดชนวนทางอารมณ์ และกายภาพผ่านทางเส้นประสาท สมองของคนมีเส้นประสาท 12 เส้น มีอย่างน้อย 5-6 เส้นที่ถูกกระตุ้นในการจูบตั้งแต่เริ่มต้นคือเส้นประสาทเบอร์ 1 ใช้ในการรับดมกลิ่น เบอร์ 5 ในการรับสัมผัสเนื้ออุ่นเนื้อเย็นจาก ริมฝีปาก ลิ้น กระพุ้งแก้ม และกล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวคางและขากรรไกร เบอร์ 7...

ถ้าเอาหน้าชนกันตรงๆเวลาจูบต้องเอียงหน้าตะแคงนิดๆจึงจะเหมาะกว่า เมื่อเล็งลึกไปถึงสมอง ในสมองคนเราจะมีตำแหน่งต่างๆที่รองรับพื้นที่ของร่างกายกับตัว ใน Somatosensory cortex พื้นที่ของริมฝีปากในสมองนั้นใหญ่โตมากครับ มากกว่าพื้นที่รองรับอวัยวะเช่นมือ หรือในระบบสืบพันธุ์ด้วยซ้ำ ทั้งนี้ การจูบนั้นจะก่อให้เกิดความผูกพันกันถึง “ความรัก” หรือไม่ ก็ต้องมีการทำงานของสมองในส่วนความสุขใจ ปิติ และผลักดัน ให้สานสัมพันธุ์ต่อ สมองส่วนนี้คือ ventral tegmental area ด้านขวา ซึ่งเป็นบริเวณด้านท้องของก้านสมองส่วนต้น และ caudate nucleus ด้านขวา โดยผ่านสารควบคุม Dopamine สมองทั้ง 2 ส่วนมีหน้าที่เป็นศูนย์ให้รางวัล และเป็นที่เดียวกันกับที่ยาเสพติด โคเคน ออกฤทธ์ ดังนั้น ความรักน่าจะเป็นยาที่ดีสำหรับมนุษย์นะครับ และจูบครั้งแรกครั้งเดียวบางครั้งก็ตัดสินได้เลยว่าไม่ใช่ Gallup และคณะพบว่า 59%...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

'หมอดื้อ' แนะ วัยกลางคน 30 ถึง 40 ความดันสูงไม่จัดการ สมองเสื่อมแน่'หมอดื้อ' แนะ วัยกลางคน 30 ถึง 40 ความดันสูงไม่จัดการ สมองเสื่อมแน่วันที่ 23 ก.ย.66 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก Thiravat Hemachudha ระบุข้อความว่า...
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอจุฬาฯ' เผยผลวิจัย พิชิตโรคสมองเสื่อม ด้วย 'ยาแก้ไอ' ไม่ใช่เป็นเรื่องไกลเกินเอื้อม'หมอจุฬาฯ' เผยผลวิจัย พิชิตโรคสมองเสื่อม ด้วย 'ยาแก้ไอ' ไม่ใช่เป็นเรื่องไกลเกินเอื้อมวันที่ 18 ก.ย.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก Thiravat Hemachudha ระบุข้อความว่า...
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอดื้อ' เผยผลการศึกษาย้ำ 'กินเร็วตั้งแต่เช้า...ตายช้า''หมอดื้อ' เผยผลการศึกษาย้ำ 'กินเร็วตั้งแต่เช้า...ตายช้า'วันที่ 15 ก.ย.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก Thiravat Hemachudha ระบุข้อความว่า... กินเร็วตั้งแต่เช้า...ตายช้า.
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอดื้อ' แนะต้องรู้ให้ได้ก่อนที่อาการจะออก 'สมองเสื่อม' นำไปสู่การป้องกัน ชะลอ รักษา'หมอดื้อ' แนะต้องรู้ให้ได้ก่อนที่อาการจะออก 'สมองเสื่อม' นำไปสู่การป้องกัน ชะลอ รักษาวันที่ 5 ก.ย.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก 'ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha' ระบุข้อความว่า ...
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอดื้อ' เตือน บิด เอียง สะบัดหมุน ดัดคอ เสี่ยงอัมพฤกษ์'หมอดื้อ' เตือน บิด เอียง สะบัดหมุน ดัดคอ เสี่ยงอัมพฤกษ์วันที่ 27 ส.ค.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุข้อความว่า ...
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอธีระวัฒน์' เผย 'วัคซีนโควิด' ผลข้างเคียงที่ต้องพิจารณา'หมอธีระวัฒน์' เผย 'วัคซีนโควิด' ผลข้างเคียงที่ต้องพิจารณา'หมอธีระวัฒน์' เผย 'วัคซีนโควิด' ผลข้างเคียงที่ต้องพิจารณา siamrath สยามรัฐ siamrathonline สยามรัฐออนไลน์ ข่าววันนี้ โควิด19 โควิดวันนี้ โควิดไทย โควิด วัคซีนโควิด หมอธีระวัฒน์
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-21 21:45:28