จริงหรือไม่? กินไข่แดงมากเกินไป อันตรายต่อสุขภาพ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE
การศึกษาดั้งเดิม ที่เผยแพร่ในวารสารของสมาคมแพทย์สหรัฐฯ ในปี 1999 รายงานการติดตามผู้ชายจำนวน 37,851 ราย อายุ 40-75 ปี และผู้หญิง 80,082 ราย อายุ 34-59 ปี เป็นเวลา 8-14 ปี โดยแรกเริ่มไม่มีใครมีโรคประจำตัวทางหัวใจ เบาหวาน ไขมันสูง หรือมะเร็ง พบว่ามีผู้ชาย 1,124 และผู้หญิง 1,502 ราย เจ็บป่วยล้มตายด้วยโรคหัวใจและอัมพฤกษ์ แต่ไม่มีความสัมพันธ์ชัดเจนกับปริมาณไข่แดงที่บริโภค ยกเว้นแต่ในผู้ป่วยเบาหวานจนกระทั่งหลังๆ มีบทความข้อเขียนต่างๆจากนักวิชาการบ้าง หมอ สมาคมโภชนาการสหรัฐฯในปี 2015...
การศึกษาที่น่าจะเป็นข้อควรระวังของคนวัยกลางคน ตั้งแต่ 45 เป็นต้นไป ที่แม้ไม่มีโรคประจำตัว ว่าการกินไข่แดง มีผลสัมพันธ์กับเส้นเลือดตีบอยู่ในวารสารเส้นเลือดตีบ จากศูนย์โรคเส้นเลือดสมอง Robarts Research Institute และศูนย์โภชนาการของแคนาดาโดยการวัดปริมาณ ตะกรันที่เกาะที่เส้นเลือดที่คอ ซึ่งตามปกติคนที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไปก็เริ่มจะมีเส้นเลือดตีบตามวัย
ผลการศึกษาอีกประการที่น่าตกใจคือ ภาวะตะกรันหรือเส้นเลือดตีบจากการกินไข่ไม่มีความสัมพันธ์ชัดเจนกับระดับคอเลสเทอรอลในเลือด ความดัน การสูบบุหรี่ อ้วนหรือไม่อ้วน รายงานในวารสารเนเจอร์ พบว่า การกินเนื้อแอล-คาร์นิทีนจะถูกเปลี่ยนโดยจุลินทรีย์ในลำไส้ให้กลายเป็น trimethy-lamine-N-oxide ซึ่งเป็นตัวเร่งให้เกิดเส้นเลือดตัน ทั้งนี้ไม่เพียงแต่คาร์นิทีนอย่างเดียว การกินโคลีน และเลซิตินมากไปจากไข่แดงหรืออาหารเสริมก็จะถูกย่อยให้เกิด trimethylamine และในที่สุดก็จะกลายเป็น TMAO ตามมา ซึ่งได้รับการพิสูจน์ล่าสุดในวารสารนิวอิงแลนด์ 2013...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
จริงหรือ? รับสมัครคนว่างงาน-ทำงานอยู่บ้าน รับประกันรายได้ 1,500 – 3,000 บาทรับสมัครคนว่างงาน-ทำงานอยู่บ้าน รับประกันรายได้ 1,500 – 3,000 บาท รับรองด้วยกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกระทรวงการคลัง ข่าวนี้ จริงหรือไม่? ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม มีคำตอบตามที่มีการโฆษณาข
อ่านเพิ่มเติม »
ใครเป็นบ่อยทำตามนี้!! 'หมอดื้อ' แนะ 'ทำท่าอินเดีย' ท่าบริหารบรรเทาอาการเวียนบ้านหมุนวันที่ 10 ก.พ.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์คลิป พร้อมข้อความลงผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว 'ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha' ระบุว่า...
อ่านเพิ่มเติม »
'หมอธีระวัฒน์' ชี้สายพันธุ์ย่อยโควิด 2566 เป็นปีสดใสวันที่ 6 ก.พ.66 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก 'ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha' ระบุข้อความว่า ...
อ่านเพิ่มเติม »
'นพ.ธีระวัฒน์'เผยข้อมูล ฝุ่น PM 2.5 ร้ายกว่าที่คิด ทำเสี่ยงเสียชีวิตสูง จากเส้นเลือดหัวใจตันวันที่ 3 ก.พ. นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ได้เผยถึงอันตรายของฝุ่นพิษ PM2.5 โดยระบุว่า “ฝุ่นจิ๋วพิษเจอไม่นาน…หัวใจวาย”
อ่านเพิ่มเติม »
'หมอธีระวัฒน์' ชี้ฝุ่นพิษเสี่ยงหัวใจเฉียบพลันไม่ได้ทำร้ายแค่ปอดวันที่ 2 ก.พ.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก 'ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha' ระบุข้อความว่า ...
อ่านเพิ่มเติม »
'หมอดื้อ' แนะ วิตกกังวล สมาธิช่วยได้วันที่ 28 ม.ค.66 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความลงในเฟซบุ๊กส่วนตัว 'ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha' ระบุว่า...
อ่านเพิ่มเติม »