ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า งีบบ่อย ส่อ…เสี่ยงสมองเสื่อม (ตอน 2)
ตอนนี้เรากลับมาที่เรื่อง งีบหลับกลางวัน และพฤติกรรมการนอน โดยไม่ได้ใช้การตรวจสมองจากศพแล้ว แต่เป็นการวิเคราะห์ยีน รหัสพันธุกรรมแทน
โดยทำการวิเคราะห์ ศึกษาหาความสัมพันธ์ เชื่อมโยงของทั้งจีโนม ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมหรือนิสัยการนอน GWAS genome– wide association study ทั้งนี้ โดยอาศัยข้อมูลของรหัสพันธุกรรมมนุษย์ที่เก็บในคลัง UK biobank เป็นจำนวน 452,633 คน และจำแนกออกเป็นกลุ่มที่ไม่เคยงีบหลับ หรืองีบน้อยมากตอนกลางวัน งีบบ้างบางเวลา หรืองีบเป็นประจำ
นอกจากนั้น รหัสพันธุกรรมที่ได้จากการศึกษาจีโนมมนุษย์ยังมีส่วนกำหนดพฤติกรรมของการนอนน้อย นอนนาน ชอบงีบหลับกลางวัน และเกี่ยวโยงไปถึงสุขภาพของร่างกายที่เกี่ยวกับหัวใจและเส้นเลือด ตรงกับที่เราทราบมานานพอสมควรแล้วว่าสุขภาพร่างกาย หัวใจหลอดเลือด ความดัน ไขมัน น้ำหนัก จะสัมพันธ์โดยตรงกับการสะสมของโปรตีนพิษในสมองอัลไซเมอร์ โดยผ่านกระบวนการอักเสบ เป็นต้น
การสรุปความแปรปรวนความผิดปกติทางสมองโดยใช้แบบมาตรฐานที่ใช้กันทั่วไป ตั้งแต่ระดับ ก้ำกึ่ง หรือน้อย และระดับปานกลาง จนถึงรุนแรง ตามลำดับ ในขณะเดียวกันได้ทำการวิเคราะห์อาสาสมัคร 24% ที่ปกติในตอนเริ่มต้น แต่พัฒนาเป็นอัลไซเมอร์ ในหกปีต่อมา พบว่าคนที่งีบหลับมากกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน จะเพิ่มความเสี่ยงที่จะพัฒนาเป็นโรคสมองเสื่อมถึง 40% เมื่อเทียบกับคนที่งีบน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน และคนที่งีบมากกว่าหนึ่งครั้งต่อวันจะมีความเสี่ยงสูงกว่าคนที่งีบน้อยกว่าหนึ่งครั้งถึง 40%
แต่กระนั้นยังไม่สามารถระบุได้ว่ามีกลไกอะไร ที่การงีบนอนหลับกลางวัน บ่อยไป นานไป มากไปกลับเร่งสมองเสื่อม
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'วิษณุ' ย้ำเลือกประธานสภาห้ามเกิน 13 ก.ค.ส่วนโหวตนายกฯ ลากยาวได้จนกว่าได้ 376 เสียง'วิษณุ' ร่ายยาวแจงไทมไลน์เรื่องประธานสภา ชี้ไม่มีอำนาจชี้เป็นชี้ตาย แค่กำหนดวันโหวตนายกฯ เปิด-ปิดประชุม ระบุประมุขนิติบัญญัติยื้อได้ไม่เกิน13 ก.ค. แถมเปิดช่องขั้วที่ 3 เสนอแข่งคู่ขนาน แต่โหวตนายกฯ ยึดเยื้อได้จนกว่าได้ 376 เสียง
อ่านเพิ่มเติม »
รัฐบาลสอบตก 'การบริหารจัดการน้ำ' เสี่ยง 'ภัยแล้ง' ขายฝันแก้วิกฤตน้ำนโยบาย 'การบริหารจัดการน้ำ' ของรัฐบาลปัจจุบันยังไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหา 'ภัยแล้ง' และค่อนข้างล้มเหลวหลายอย่าง เนื่องจากหลายปัญหายังไม่ถูกสะสางให้สมกับคำใหญ่ที่ขายฝัน เมื่อปี 2557 ที่บอกว่าจะ ‘ปฏิรูปการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ’ ประเทศไทยจึงมีความเสียง 'วิกฤตน้ำ'
อ่านเพิ่มเติม »
เพื่อไทย งงสูตร 13+1 มาจากไหน ยัน 2 ก.ค. จบแน่เรื่องประธานสภา ตัดพ้อทำอะไรก็ผิด“ชลน่าน-ภูมิธรรม” ประสานเสียง คุยก้าวไกล ปมประธานสภาจบวันที่ 2 กรกฎาคมแน่ พรรคเพื่อไทยไม่อาจเสนอชื่อแข่งหากพรรคก้าวไกลไม่ให้ ตัดพ้อเป็นพรรคอันดับ 2 ทำอะไรก็ผิด ทัวร์ลงตลอด ย้ำชัด เพื่อไทยก้าวไกลไม่อาจแยกออกจากกันได้ เพราะถูกมัดรวมด้วย 25,000,000 เสียง เปรียบพ่อแม่จับลูกคลุมถุงชน
อ่านเพิ่มเติม »
'กิตติศักดิ์' ยันเหลือส.ว. หนุน 'พิธา' ไม่ถึง 5 เสียง ย้ำจุดยืนไม่โหวตให้พรรคแตะสถาบัน แย้มมีบางพรรคเสนอชื่อ 'นายกฯ' มากกว่า 1คนวันที่ 28 มิถุนายน 2566 ที่สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) นายกิตติศักดิ์ รัตนวราหะ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) กล่าวถึงความเห็นของ ส.ว.ในการโหวตนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ในฐานะหัวหน้าพรรคและแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีพรรคก้าวไกล ว่า ขณะนี้คลื่นลมสงบได้ข้อยุติแล้ว และมองว่ากลุ่ม ส.ว.ที่สนับสนุนนายพิธา น่าจะน้อยกว่า 5 คน ซึ่งสิ่งที่ ส.ว.ส่วนใหญ่ตัดสินใจน่าจะเป็นการปิดสวิตช์ตนเอง คือ การงดออกเสียง แต่ย้ำว่า ส.ว.มีเอกสิทธิ์ส่วนตัวในการลงมติอย่างไรก็ได้ ผู้สื่อข่าวถามว่า ถ้าเสียง ส.ว.ไม่ครบ ฟันธงว่านายพิธา ไปต่อไม่ได้เลยใช่หรือไม่ นายกิตติศักดิ์กล่าวว่า ถ้าหากวันเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีเชื่อว่าจ
อ่านเพิ่มเติม »
'จุลินทรีย์ในลำไส้' นั้นสำคัญไฉน! ทำไมโยงหลายโรค-สมองเสื่อมศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า จุลินทรีย์ในลำไส้…ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 2)
อ่านเพิ่มเติม »
ระวัง! ยาถ่ายยาระบาย ใช้บ่อย เสี่ยงสมองเสื่อมศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า ใช้บ่อย ยาถ่าย ยาระบาย เสี่ยงสมองเสื่อม
อ่านเพิ่มเติม »