ค่าใช้จ่าย ผ้าอนามัย ที่ต้องจ่ายทุกเดือน มาลองคำนวณกัน

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ค่าใช้จ่าย ผ้าอนามัย ที่ต้องจ่ายทุกเดือน มาลองคำนวณกัน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 mthai
  • ⏱ Reading Time:
  • 32 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 16%
  • Publisher: 63%

ลองมาคำนวนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับประจำเดือน ที่ผู้หญิงต้องใช้จ่ายเมื่อถึงวันนั้นของเดือนในแต่ละรอบว่ามีค่าใช้จ่ายใดๆ บ้าง และคิดเป็นจำนวนเงินเท่าไร?

โดยเฉลี่ยผู้หญิงจะมีประจำเดือนตั้งแต่อายุ 12 ปี แต่ก็มีรายงานว่าเด็กผู้หญิงบางคนมีประจำเดือนตั้งแต่อายุ 8 ปี และหมดประจำเดือนในวัย 60 ปี

นอกจากประจำเดือนแล้ว ผู้หญิงบางคนมีภาวะปริมาณตกขาวมามากในช่วงไข่ตก จึงจำเป็นต้องใช้แผ่นอนามัยเพื่อช่วยเรื่องสุขอนามัย ผ้าอนามัยแบบกลางคืน ราคาต่อชิ้นประมาณ 5 – 10 บาท ใช้วันละ 2 ชิ้น คิดเป็นเงิน 20 บาท หากเป็นประจำเดือน 7 วัน ต้องจ่าย 140 บาท แผ่นอนามัย ราคาต่อชิ้นประมาณ 1.50 บาท ตามคำแนะนำของสาธารณะสุข ควรเปลี่ยนแผ่นอนามัยทุกๆ 2-4 ชม. เช่นกัน หากใช้วันละ 5 ชิ้น เป็นเงิน 7.50 บาท หากใช้เดือนละ 5 วันคิดเป็นเงิน 37.50 บาทในหนึ่งเดือนของการเป็นผู้หญิงที่มีประจำเดือน จะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ราว 400 บาทต่อเดือน หรือราวปีละ 4,800 บาทคำนวณคร่าวๆ ว่า ตลอดชีวิตของผู้หญิงเราจะต้องมีค่าใช้จ่าย 230,400 บาท สำหรับการเป็นประจำเดือน

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

mthai /  🏆 12. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

พระราชพิธีขึ้นครองราชย์ ค่าใช้จ่าย หรือ การลงทุน?พระราชพิธีขึ้นครองราชย์ ค่าใช้จ่าย หรือ การลงทุน?มีการประมาณการว่า เม็ดเงินที่จะกระตุ้นระบบเศรษฐกิจของอังกฤษในช่วง งานพระราชพิธีขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรที่จะมีขึ้นในช่วงสุดสัปดาห์นี้ อาจจะสูงถึง 1,000 ล้านปอนด์ อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »

มีลูก เบิกรัฐฯ ได้ พ่อแม่มือใหม่ วางแผนค่าใช้จ่ายก่อนมีเบบี๋มีลูก เบิกรัฐฯ ได้ พ่อแม่มือใหม่ วางแผนค่าใช้จ่ายก่อนมีเบบี๋🪙💰 รายการดีน่าดูBUGABOOTV ขอแนะนำ เงินทองของจริง พ่อแม่ยุคเก่าอาจจะพูดได้เต็มปากว่ามีลูก 3-4 คน ไม่ใช่ปัญหา สามารถเลี้ยงดูส่งเสียเรียนจนจบมาได้ แต่ยุคนี้ไม่ใช่อย่างนั้นเพราะค่าใช้จ่าย ที่ไม่เหมือนกัน . เปิดรายการ เงินทองของจริง ได้ที่ ▶️ . BUGABOOTV…
อ่านเพิ่มเติม »

เลือกตั้ง 66 : พลังประชารัฐ รับรอง 20 นโยบายสำคัญ เน้นเพิ่มเงิน ลดค่าใช้จ่ายประชาชนเลือกตั้ง 66 : พลังประชารัฐ รับรอง 20 นโยบายสำคัญ เน้นเพิ่มเงิน ลดค่าใช้จ่ายประชาชนพลังประชารัฐ เห็นชอบ 20 นโยบายสำคัญ ชู “ 3 ลด ค่าใช้จ่าย 7 เพิ่มเงินประชาชน” เชื่อนโยบายที่ออกมาจะเป็นประโยชน์ให้กับประชาชน เลือกตั้ง2566 ข่าวการเมืองไทยรัฐออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »

'พปชร.' ประชุมใหญ่ รับรอง 20 นโยบายสำคัญ '3 ลด ค่าใช้จ่าย 7 เพิ่มเงินปชช.''พปชร.' ประชุมใหญ่ รับรอง 20 นโยบายสำคัญ '3 ลด ค่าใช้จ่าย 7 เพิ่มเงินปชช.''พปชร.' ประชุมใหญ่สามัญพรรค รับรองการดำเนินงานในรอบปี-งบการเงิน พร้อมรับรอง 20 นโยบายสำคัญ '3 ลด ค่าใช้จ่าย 7 เพิ่มเงินปชช.'
อ่านเพิ่มเติม »

พปชร.ประชุมสามัญพรรคฯ รับรองการดำเนินงานรอบปี-งบการเงินพรรค รับรอง 20 นโยบายสำคัญพปชร.ประชุมสามัญพรรคฯ รับรองการดำเนินงานรอบปี-งบการเงินพรรค รับรอง 20 นโยบายสำคัญพปชร.ประชุมใหญ่สามัญพรรคฯรับรองการดำเนินงานในรอบปีงบการเงินพรรค รับรอง 20 นโยบายสำคัญของพรรค “ 3 ลด ค่าใช้จ่าย 7 เพิ่มเงินปชช.” อ่านรายละเอียด : ยุบสภา การเมือง เลือกตั้ง66 เลือกตั้ง บิ๊กตู่ พลังประชารัฐ
อ่านเพิ่มเติม »

Power of The Act: การประเมินผลกระทบการเปลี่ยนอัตราหรือราคาค่าไฟฟ้า : อินโฟเควสท์Power of The Act: การประเมินผลกระทบการเปลี่ยนอัตราหรือราคาค่าไฟฟ้า : อินโฟเควสท์ความสามารถของผู้ใช้ที่จะ “จ่าย” ค่าไฟฟ้าได้อย่างสมเหตุสมผลนั้นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ การกำกับดูแลอัตราหรือราคาค่าไฟฟ้าจึงเป็นภารกิจที่สำคัญประการหนึ่งของรัฐ แม้ในประเทศที่ได้พัฒนาให้เกิดตลาดพลังงานแล้วก็ตาม ในระดับสากล เมื่อหน่วยงานของรัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรกำกับดูแลกิจการพลังงานจะดำเนินการปรับเปลี่ยนโครงสร้างอัตรา หรือ ราคาค่าไฟฟ้า หน่วยงานของรัฐจะวิเคราะห์ถึงเหตุผล ความจำเป็นและผลกระทบของการปรับเปลี่ยนโครงสร้างอัตรา หรือ ราคาค่าไฟฟ้า โดยจะต้องดำเนินการประเมิน “ผลกระทบของการเปลี่ยนอัตราหรือราคาค่าไฟฟ้า” อย่างรอบคอบ *เหตุผลและความจำเป็นในการกำกับดูแลโครงสร้างอัตราหรือราคาค่าไฟฟ้า ในสหราชอาณาจักร การประเมินผลกระทบของการปรับเปลี่ยนโครงสร้างอัตรา หรือ ราคาค่าไฟฟ้าโดย Department for Business, Energy and Industrial Strategy (BEIS) จะเริ่มต้นจากการตระหนักถึงความจำเป็นในการที่องค์กรกำกับดูแลกิจการไฟฟ้ามีความจำเป็นต้อง “แทรกแซง” ตลาดในการกำหนดราคาค่าไฟฟ้า (Rationale for Intervention) เนื่องจากพลังงานนั้นเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตของประชาชน และยังเป็น “ค่าใช้จ่าย” ที่แต่ละครัวเรือนมิอาจหลีกเลี่ยงได้ (Unavoidable Expenses) (ข้อมูลจาก Department for Business, Energy and Industrial Strategy (BEIS), ‘Energy Price Guarantee (EPG) – […]
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-28 00:28:22