ค่าแรงต่ำ-วัฒนธรรมองค์กรเก่า อุปสรรคใหญ่ตลาดแรงงาน ‘ญี่ปุ่น’

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ค่าแรงต่ำ-วัฒนธรรมองค์กรเก่า อุปสรรคใหญ่ตลาดแรงงาน ‘ญี่ปุ่น’
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 ktnewsonline
  • ⏱ Reading Time:
  • 62 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 28%
  • Publisher: 63%

ขณะนี้จำนวนประชากร ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่สุดอันดับ 3 ของโลกลดลง ทำให้ต้องพิจารณารับแรงงานต่างชาติเข้ามาทำงานประเทศอย่างจริงจัง แต่ญี่ปุ่นยังมีอุปสรรคมากมายที่ยังไม่สามารถดึงดูดแรงงานได้มากพอ อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์

แรงงานต่างชาติ

ญี่ปุ่นจึงออกมาตรการหลายอย่างเพื่อดึงดูดแรงงานที่มีความสามารถช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น ออกวีซ่าใหม่ ๆ และปรับปรุงโครงการฝึกหัดด้านเทคนิคเพื่อดึงดูดแรงงานต่างชาติเพิ่ม แต่ยังมีปัยจัยหลายอย่าง ที่เป็นความท้าทายต่อความพยายามดึงดูดแรงงานต่างชาติของแม้ญี่ปุ่นมีโครงการฝึกหัดด้านเทคนิค เป็นหนึ่งในโครงการดึงดูดแรงงานต่างชาติ เข้าทำงานในภาคอุตสาหกรรมเฉพาะ และแรงงานสามารถอยู่ในญี่ปุ่นได้มากกว่า 5 ปี แต่โครงการดังกล่าว...

ทั้งนี้ เมื่อปี 2565 ญี่ปุ่นมีแรงงานต่างชาติมากกว่า 1.82 ล้านคน และมีแรงงานฝึกหัดทางด้านเทคนิคประมาณ 343,000 คน มากกว่า 10 ปีที่ผ่านมา 2 เท่า “ฮิซาชิ ยามาดะ” นักเศรษฐศาสตร์จากสถาบันวิจัยญี่ปุ่น บอกว่า ประเทศพัฒนาแล้วต่างแข่งขันเพื่อดึงดูดแรงงานที่มีความสามารถด้านไอที แต่ญี่ปุ่นยังตามหลังประเทศเหล่านั้นอยู่ เพราะให้ค่าจ้างต่ำกว่าเฉลี่ยในญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นเพียง 3% ในระหว่างปี 2544 ถึงปี 2564 ยังคงต่ำมาก เมื่อเทียบกับประเทศเกาหลีใต้ที่ค่าจ้างเพิ่มขึ้น 40% และค่าจ้างในสหรัฐเพิ่มขึ้น 29% ในช่วงเวลาเดียวกัน

“คาโอริ อากิยามะ” กรรมการผู้จัดการอาวุโสจากสมาคมแลกเปลี่ยนเยาวชนญี่ปุ่น-เอเชีย องค์กรที่ดูแลการฝึกงานด้านเทคนิค เตือนว่า “ถ้าค่าจ้างในญี่ปุ่นยังอยู่ในระดับเดิมเหมือน 2 หรือ 3 ปีก่อน อาจรักษาแรงงานคุณภาพดีไว้ได้ยาก เรากำลังบอกกับบริษัทญี่ปุ่นว่า ถ้าอยากได้แรงงานดี ๆ คุณต้องขึ้นค่าจ้างมากกว่านี้”

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

ktnewsonline /  🏆 24. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

นายกฯ ปลื้ม ญี่ปุ่นสนใจ กล้วย-กล้วยแปรรูปไทย สร้างมูลค่าแล้วกว่า 1,000 ล้านนายกฯ ปลื้ม ญี่ปุ่นสนใจ กล้วย-กล้วยแปรรูปไทย สร้างมูลค่าแล้วกว่า 1,000 ล้านโฆษกรัฐบาลเผย นายกฯ ปลื้ม ชาวญี่ปุ่นให้ความสนใจกล้วย และผลิตภัณฑ์กล้วยแปรรูปของไทย สร้างมูลค่าทางการค้าแล้วกว่า 1,000 ล้านบาท พร้อมผลักดันความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น (JTEPA) ขยายการส่งออกตลาดญี่ปุ่น กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »

คุโบะ-มิโตมะฟอร์มเฉียบ! ญี่ปุ่นลับแข้งถลุงเอล ซัลวาดอร์10คนครึ่งโหลคุโบะ-มิโตมะฟอร์มเฉียบ! ญี่ปุ่นลับแข้งถลุงเอล ซัลวาดอร์10คนครึ่งโหลญี่ปุ่น งัดฟอร์มสุดโหดไล่ถลุง เอล ซัลวาดอร์ ที่เหลือผู้เล่น 10 คน กระจุย โดยมาได้ ทาเคฟุสะ คุโบะ ยิง 1 จ่าย 2 ส่วน คาโอรุ มิโตมะ จัด 2 แอสซิสต์ ส่งทัพ 'ซามูไรบลูส์' คว้าชัยเปิดหัวศึกกระชับมิตรรายการ 'กิริน ชาลเลนจ์ คัพ'
อ่านเพิ่มเติม »

RCEP บังคับใช้เต็มรูปแบบกับสมาชิกทั้งหมด 15 ประเทศแล้วเมื่อวันที่ 2 มิ.ย.66RCEP บังคับใช้เต็มรูปแบบกับสมาชิกทั้งหมด 15 ประเทศแล้วเมื่อวันที่ 2 มิ.ย.66กรมการค้าต่างประเทศเผยฟิลิปปินส์ให้สัตยาบันสารต่อสำนักเลขาธิการอาเซียนเป็นสมาชิกสุดท้ายของความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ส่งผลให้ RCEP มีผลบังคับใช้กับสมาชิกทั้งหมด 15 ประเทศอย่างเต็มรูปแบบ มีผล 2 มิ.ย.66 นายรณรงค์ พูลพิพัฒน์ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า RCEP ได้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 โดยในปี 2565 มีผลบังคับใช้กับสมาชิกทั้งหมด 13 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา สปป.ลาว สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ มาเลเซีย และเมียนมา และในปี 2566 มีผลบังคับใช้กับอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 2 มกราค
อ่านเพิ่มเติม »

RCEP มีผลบังคับใช้เต็มรูปแบบครบทั้ง 15 ประเทศสมาชิกแล้ว หนุนเพิ่มทางเลือกการค้า : อินโฟเควสท์RCEP มีผลบังคับใช้เต็มรูปแบบครบทั้ง 15 ประเทศสมาชิกแล้ว หนุนเพิ่มทางเลือกการค้า : อินโฟเควสท์RCEP ได้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 โดยในปี 2565 มีผลบังคับใช้กับสมาชิกทั้งหมด 13 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา สปป.ลาว สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ มาเลเซีย และเมียนมา และในปี 2566 มีผลบังคับใช้กับอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2566 และล่าสุดกับฟิลิปปินส์ในวันที่ 2 มิถุนายน 2566 ส่งผลให้มีผลบังคับใช้กับสมาชิกรวม 15 ประเทศอย่างเต็มรูปแบบ นายรณรงค์ พูลพิพัฒน์ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า กรมการค้าต่างประเทศ ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin: C/O) จึงได้ออกประกาศกรมการค้าต่างประเทศฉบับใหม่ เพื่อรองรับการมีผลบังคับใช้ดังกล่าว โดยได้รวบรวมประกาศกรมการค้าต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form RCEP ทั้ง 6 […]
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-05 15:39:12