อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชวนรู้จัก 'ภาวะสิ้นยินดี' อาการร่วมที่พบบ่อยในผู้มี 'ภาวะซึมเศร้า' พร้อมแนะวิธีสังเกตสัญญาณหมดสุข เพื่อปรับโฟกัสใจและเติมความรู้สึกบวกได้ทัน ก่อนสูญความสามารถที่จะสุขและสนุกกับชีวิต
ภาวะสิ้นยินดีเชื่อมโยงกับภาวะซึมเศร้า ผศ.ดร.กุลยา เผยว่าร้อยละ 60 ของผู้ที่มีภาวะสิ้นยินดี มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น เพราะทั้งสองภาวะมีมีความเหมือนกันอยู่ 2 เรื่อง คือ อารมณ์ความรู้สึกทางลบ และสิ่งที่เคยทำให้รู้สึกชื่นชอบสบายใจ ไม่ได้ทำให้มีความสุขอีกต่อไป“เวลาเป็นซึมเศร้า ใจจะดิ่ง อารมณ์ลบจะเยอะ พยายามทำสิ่งต่าง ๆ เพื่อดึงความรู้สึกให้ดีขึ้น ไม่ว่าดูหนัง ฟังเพลง เล่นกับน้องแมวที่บ้าน ก็อาจจะยังไม่ดีขึ้น ซึ่งถ้าเรามีภาวะซึมเศร้าต่อเนื่องนาน ๆ ก็จะเกิดภาวะสิ้นยินดีได้” ผศ.ดร.
ถ้าเราอ่านหนังสือ ฟังเพลง หรือสิ่งที่เราเคยชอบทำ แล้วไม่รู้สึกสนุกหรือชอบเหมือนเดิม ก็อาจเป็นสัญญาณของภาวะสิ้นยินดีได้ แต่ก็ไม่เสมอไป เราอาจจะต้องสังเกตต่อไปว่าอารมณ์ความรู้สึกทางบวกในเรื่องอื่น ๆ หรือช่วงอื่น ๆ มีน้อยลงด้วยหรือไม่2. สังเกตความคิด – ความคิดของเราเป็นเชิงลบ หม่นหมองหรือไม่ เราได้พยายามปรับมุมมองให้เป็นบวกมากขึ้นแล้วหรือยัง ปรับมุมมองให้บวกได้สำเร็จหรือไม่
ถ้าเรามีความรู้สึกเชิงบวก เราจะมองคนในเชิงบวก อยากสร้างสัมพันธ์กับผู้คน แต่ถ้าเราตกอยู่ในภาวะสิ้นยินดี เราจะรู้สึกว่าโลกไม่น่าอยู่ ไม่อยากสร้างความสัมพันธ์ใหม่ ๆ หรือไม่รู้สึกกระตือรือร้นที่จะรักษาความสัมพันธ์ที่มีอยู่แล้ว3. สังเกตร่างกาย – รู้สึกเหนื่อยจากการทำงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าปกติหรือไม่ ตื่นมาแล้วรู้สึกไม่แจ่มใส รู้สึกล้า หมดแรงหรือเปล่า
สมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางเพศเป็นเกณฑ์ประเมินภาวะสิ้นยินดีได้เหมือนกัน แต่ไม่ใช่กับทุกกรณี สิ่งที่เราพอสังเกตได้คือร่างกายของเรายังแข็งแรงเป็นปกติดีไหม ออกกำลังกายได้เท่าเดิมหรือเปล่า มีความเปลี่ยนแปลงด้านสมรรถภาพทางเพศหรือไม่ ที่สำคัญ เวลาที่รู้สึกอ่อนล้า เหนื่อย ถ้าได้พักผ่อน นอนแล้ว ร่างกายกลับมากระชุ่มกระชวย อารมณ์ดีสดใสขึ้น แต่ถ้านอนพักแล้ว ยังรู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อย ล้า หมดแรงที่จะทำอะไร...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“ภาวะสิ้นยินดี” ชวนสำรวจ “ความสุข” ครั้งล่าสุด แนะวิธีรับมือก่อนหมดไฟอาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชวนรู้จัก “ภาวะสิ้นยินดี” อาการร่วมที่พบบ่อยในผู้มีภาวะซึมเศร้า พร้อมแนะวิธีสังเกตสัญญาณหมดสุข เพื่อปรับโฟกัสใจและเติมความรู้สึกบวกได้ทัน ก่อนสูญความสามารถที่จะสุขและสนุกกับชีวิต
อ่านเพิ่มเติม »
“ภาวะสิ้นยินดี” ชวนสำรวจ “ความสุข” ครั้งล่าสุด แนะวิธีรับมือก่อนหมดไฟอาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชวนรู้จัก “ภาวะสิ้นยินดี” อาการร่วมที่พบบ่อยในผู้มีภาวะซึมเศร้า พร้อมแนะวิธีสังเกตสัญญาณหมดสุข เพื่อปรับโฟกัสใจและเติมความรู้สึกบวกได้ทัน ก่อนสูญความสามารถที่จะสุขและสนุกกับชีวิต
อ่านเพิ่มเติม »
อาชีพในฝัน- เต้นรำไปทำเงินดร.นิเวศน์ แจงคุณลักษณะ'อาชีพในฝัน' รวมถึงการเป็น'นักลงทุนVI' ความสุข และเงื่อนไขความสำเร็จ วัดกันตรงไหน ข้อดีและข้อเสียของนักลงทุน VI
อ่านเพิ่มเติม »
ทำความเข้าใจ 4 โรครุมเร้าเข้าข่ายกลุ่มเปราะบางของอดีตนายก อันตรายแค่ไหน!!ปัญหาสุขภาพ : ชวนรู้จัก 4 โรคประจำตัวรุมเร้าอดีตนายก ทั้งภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, ปอดอักเสบเรื้อรัง, ความดันโลหิตสูง และกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท เปิดอาการโรค ความเสี่ยงด้านสุขภาพ พร้อมวิธีป้องกัน
อ่านเพิ่มเติม »
OpenThai และ อลิสา ChatGPT ฝีมือคนไทย - ทักษะอินเตอร์ชวนรู้จัก OpenThai GPT และ อลิสา (Alisa) โมเดลแชตบอตที่มีฐานข้อมูลเป็นภาษาไทย ตอบคำถามภาษาไทยได้แม่นยำ เทคโนโลยีพร้อมใช้ทักษะระดับอินเตอร์
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จักระบบ APM รถไฟฟ้าไร้คนขับ เชื่อมเทอร์มินัล ‘สุวรรณภูมิ’ชวนรู้จัก APM รถไฟฟ้าไร้คนขับสายแรกในไทย ขนส่งผู้โดยสารเชื่อมเทอร์มินัลท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทอท.เตรียมเปิดให้บริการ ก.ย.นี้ อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ
อ่านเพิ่มเติม »