คปภ.ขอโซเชียลอย่าแชร์ข้อมูลผิด 10 คำถามคาใจ 'Copayment'

คปภ ข่าว

คปภ.ขอโซเชียลอย่าแชร์ข้อมูลผิด 10 คำถามคาใจ 'Copayment'
Copaymentประกันสุขภาพสภาผู้บริโภค
  • 📰 ThaiPBS
  • ⏱ Reading Time:
  • 69 sec. here
  • 11 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 59%
  • Publisher: 51%

คปภ. ขอชาวเน็ตอย่าแชร์ข้อมูลคลาดเคลื่อน สร้างความสับสนเรื่อง Copayment ยืนยันผู้เอาประกันจ่ายร่วมเฉพาะเมื่อเข้าเงื่อนไขเท่านั้น ไม่กระทบทุกคน ชวนเช็ก 10 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับ Copayment เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง เมื่อวันที่ 24 มี.ค.2568 เว็บไซต์ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.

คปภ . ชี้ว่า ความวุ่นวายเรื่อง Copayment ส่วนหนึ่งมาจากข้อมูลผิด ๆ ในโซเชียลมีเดียและการชักจูงของ ตัวแทนประกัน บางคนที่พูดเกินจริง เช่น บอกว่า Copayment ใช้กับทุกกรมธรรม์ หรือต้องรีบซื้อก่อนวันที่ 20 มี.ค.2568 ซึ่งไม่เป็นความจริง คปภ . เลยเตรียมลุยประชาสัมพันธ์ให้ชัดเจน และเตรียมลงโทษตัวแทนที่ให้ข้อมูลไม่ชัดเจน ยืนยันหากผู้บริโภคเจอการกดดันซื้อประกันแบบ Copayment โดยที่ ตัวแทนประกัน ไม่ได้อธิบายข้อมูลอย่างละเอียดให้เข้าใจอย่างถี่ถ้วน สามารถร้องเรียนที่ คปภ .

ทีมข่าวไทยพีบีเอสออนไลน์ สอบถาม สายด่วน คปภ. เพิ่มเติม ในประเด็นเรื่อง"กรมธรรม์ที่ไม่มี Copayment ยังมีอยู่" ได้รับการขยายความว่า ตามการประกาศของ คปภ. ที่ว่า ประกันสุขภาพแบบบุคคลที่มีเงื่อนไข Copayment ที่ประกาศใช้ในวันที่ 20 มี.ค.

เช่น บริษัท A พร้อมขาย Copayment ในวันที่ 20 มี.ค.2568 เป็นต้นไป ในขณะที่ บริษัท B ยังไม่มีประกาศ ก็หมายความว่า ถ้าผู้บริโภคต้องการประกันสุขภาพที่ไม่มี Copayment ก็สามารถไปซื้อที่บริษัท B ได้ ส่วนบริษัท B จะไม่ขายแบบ Copayment ไปตลอดเลยหรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับนโยบายบริษัท B เอง และสำหรับประเด็นตัวแทนประกันภัยบังคับหรือโฆษณาชวนเชื่อ โดยใช้คำว่า รีบซื้อก่อนวันที่ 20 มี.ค. หรือก่อนที่ Copayment จะบังคับใช้นั้น ทางสายด่วน คปภ. ชี้แจงว่า ตัวแทนประกันภัยย่อมมีกฎข้อบังคับอยู่แล้วว่า ไม่สามารถชี้แนะ หรือชักจูง ได้ว่าลูกค้าต้องซื้อประกันภัยแบบใด ตัวแทนมีหน้าที่เพียงแค่ ให้ข้อมูลในสิ่งที่ลูกค้าถามมาเท่านั้น

สอดคล้องกับตัวแทนประกันภัยรายหนึ่ง ให้สัมภาษณ์กับทีมข่าวว่า ตัวแทนประกันไม่มีหน้าที่เชียร์ให้ซื้อ หรือให้ยกเลิกประกันอื่น ๆ แล้วมาซื้อประกันฉบับใหม่ได้ หน้าที่มีเพียงเสนอรายละเอียด ความคุ้มครอง เปรียบเทียบให้ลูกค้าพิจารณาและตัดสินใจด้วยตัวเองเท่านั้นตอบ - บริษัทพิจารณาทุกรอบปี ถ้าเคลมลดลงตามเกณฑ์ จะยกเลิก Copayment เช่น ปีกรมธรรม์ 2568 รักษาเกินเกณฑ์ ทำให้ปีกรมธรรม์ 2569 ผู้เอาประกันต้องจ่ายร่วม Copayment แต่หากในปีนั้น ๆ ผู้เอาประกันไม่ได้ป่วย หรือ ไม่ได้เข้ารับการรักษาเกินเกณฑ์อีก ปีกรมธรรม์...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

ThaiPBS /  🏆 52. in TH

Copayment ประกันสุขภาพ สภาผู้บริโภค สิทธิผู้บริโภค เบิกค่ารักษา ตัวแทนประกัน ข่าววันนี้ ข่าวล่าสุด

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

คปภ.เสียงอ่อย รับลูกสภาผู้บริโภคทบทวนและติดตามเป็นระยะๆ ปมข้อกังวลกระทบผู้เปราะบางและรายได้น้อย จ่อฟันตัวแทนฉวยโอกาสบิดพลิ้ว ใช้Co-payment ทำแต่ยอด เมินลูกค้าเสียหายคปภ.เสียงอ่อย รับลูกสภาผู้บริโภคทบทวนและติดตามเป็นระยะๆ ปมข้อกังวลกระทบผู้เปราะบางและรายได้น้อย จ่อฟันตัวแทนฉวยโอกาสบิดพลิ้ว ใช้Co-payment ทำแต่ยอด เมินลูกค้าเสียหายคปภ. และสภาผู้บริโภค ร่วมทบทวนมาตรการ Copayment มุ่งสร้างความเป็นธรรมด้านประกันภัยสุขภาพ ย้ำต้องไม่กระทบผู้บริโภค เร่งประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่ถูกต้อง พร้อมดำเนินการทางกฎหมายต่อผู้ให้ข้อมูลคลาดเคลื่อน คปภ.
อ่านเพิ่มเติม »

คปภ. ประชุมคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ชี้แจงทำความเข้าใจหลักเกณฑ์ Copayment กรณีต่ออายุสัญญาประกันภัย และกรณีครบรอบปีกธ.คปภ. ประชุมคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ชี้แจงทำความเข้าใจหลักเกณฑ์ Copayment กรณีต่ออายุสัญญาประกันภัย และกรณีครบรอบปีกธ.คปภ.
อ่านเพิ่มเติม »

รู้จัก Deductible VS Copayment เรื่องควรรู้ ก่อนทำประกันสุขภาพออนไลน์รู้จัก Deductible VS Copayment เรื่องควรรู้ ก่อนทำประกันสุขภาพออนไลน์ในวันที่เงื่อนไขการต่ออายุ Copayment กำลังจะเริ่มมีผลตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป สำหรับผู้ที่สนใจการทำประกันสุขภาพ อาจต้องทำความเข้าใจ 2 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับความรับผิดชอบ 2 แบบที่มีผลต่อการเคลมประกันของผู้เอาประกันภัย ซึ่งอาจมีความคล้ายกันในความต่าง คือ “ความรับผิดชอบส่วนแรก (Deductible)” และ “เงื่อนไขการต่ออายุแบบ Copayment”...
อ่านเพิ่มเติม »

COPAYMENT เกราะป้องกัน ผู้เอาประกันภัยสุขภาพ ลดผลกระทบ แบกรับ ‘ค่าเบี้ย’ รายปีพุ่งCOPAYMENT เกราะป้องกัน ผู้เอาประกันภัยสุขภาพ ลดผลกระทบ แบกรับ ‘ค่าเบี้ย’ รายปีพุ่งCOPAYMENT เกราะป้องกัน ผู้เอาประกันภัยสุขภาพ ลดผลกระทบ แบกรับ ‘ค่าเบี้ย’ รายปีที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ยปีละ 3-5% ต่อปี ตามการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อทางการแพทย์
อ่านเพิ่มเติม »

ประกันสุขภาพ เงื่อนไขใหม่ Copayment ลูกค้าร่วมจ่าย 30-50%ประกันสุขภาพ เงื่อนไขใหม่ Copayment ลูกค้าร่วมจ่าย 30-50%ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2025 มาตรการ Copayment จะมีผลบังคับใช้กับกรมธรรม์ประกันสุขภาพที่ซื้อหลังจากวันนี้เป็นต้นไป โดยเงื่อนไขนี้กำหนดให้ลูกค้าต้องร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาลประมาณ 30-50% อย่างไรก็ตาม มาตรการนี้จะยังไม่มีผลให้ต้องร่วมจ่ายทันทีในปีนี้ และไม่ได้บังคับใช้กับผู้ที่มีประกันสุขภาพทุกคน...
อ่านเพิ่มเติม »

ไม่ชะลอ! ' ผู้ป่วยร่วมจ่าย' ค่ารักษาพยาบาล ประกันสุขภาพเอกชนไม่ชะลอ! ' ผู้ป่วยร่วมจ่าย' ค่ารักษาพยาบาล ประกันสุขภาพเอกชนสภาฯผู้บริโภคเดินหน้าติดตามผลกระทบ “ร่วมจ่าย (Copayment) ประกันสุขภาพ”คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค เปิดรับข้อร้องเรียน หลังคปภ.ไร้เสียงตอบรับกรณีขอให้ชะลอบังคับใช้
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-18 08:04:24