ตามที่มีข้อมูลกล่าวถึงเรื่อง ปัสสาวะกลางคืนแล้วไม่ดื่มน้ำทดแทน ทำให้เกิดภาวะการอุดตันของหัวใจและสมองนั้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั
้น เป็นข้อมูลเท็จ
ทางสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า โดยปกติร่างกายมีกลไกในการควบคุมปริมาณน้ำและเกลือแร่ให้สมดุลอยู่เสมอ และร่างกายจะสูญเสียน้ำตามปกติผ่านการพูดการหายใจ เหงื่อ และปัสสาวะ หากเราดื่มน้ำมาก ร่างกายก็จะขับน้ำที่เกินความจำเป็นออกมาในทางตรงกันข้ามหากร่างกายขาดน้ำ ปัสสาวะก็จะน้อยหรือไม่รู้สึกปวดปัสสาวะเลย เนื่องจากกลางคืนอากาศเย็น จึงปัสสาวะมากกว่าปกติ เพราะร่างกายไม่ได้เสียน้ำไปกับเหงื่อ แต่ก็ไม่ควรมากกว่า 2 ครั้งต่อคืน เพราะหากปัสสาวะมากกว่า 2 ครั้งต่อคืน...
อย่างไรก็ตาม การดื่มน้ำในช่วงกลางคืนที่มากเกินไป ทำให้ต้องลุกไปปัสสาวะบ่อยครั้งขึ้น โดยทำให้การนอนไม่ต่อเนื่อง จะมีผลต่อสุขภาพในช่วงกลางวันได้ และอาจจะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุขณะลุกขึ้นมาเพื่อเข้าห้องน้ำในช่วงกลางคืน โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และหากต้องการลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง หรือหลอดเลือดหัวใจ ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมความดันโลหิต ระดับน้ำตาล และไขมันในเลือด งดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ข่าวปลอม อย่าแชร์! แพทย์แนะ 3 วิธี เลี่ยงเสียชีวิตกะทันหันตอนกลางคืน ไม่จริงตามที่มีผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง 3 วิธี หลีกเลี่ยงการเสียชีวิตกะทันหันในตอนกลางคืน แนะนำโดยแพทย์นั้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น
อ่านเพิ่มเติม »
ไม่จริง! 'อ.เจษฎา' ยันจอดรถตากแดดกระดาษทิชชูติดไฟไหม้เองไม่ได้จากกรณีผู้ใช้ TikTok รายหนึ่งออกมาโพสต์คลิปเตือนภัย หลังเจ้าตัววางทิชชู่และไม้จิ้มฟันที่เบาะด้านหลังรถ แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนจัดทำให้แดดสะท้อนกระจกรวมที่แสงที่ทิชชู ทำให้เกิดไฟลุกไหม้เบาะด้านหลังวอด เมื่อวันที่ 2 เม.ย.67 รศ.ดร.
อ่านเพิ่มเติม »
คลังเตือนอย่าเชื่อ อย่าแชร์ ข่าว Digital walletนายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า ตามที่ได้มีการเผยแพร่ข้อมูลในสื่อออนไลน์ โดยเฉพาะ application “LINE” ว่ารัฐบาลจะดำเนินการโครงการเติมเงิน 10000 บาท ผ่าน Digital wallet ให้ประชาชนด้วยเงินดิจิทัล สกุลเงิน Token โดยตนขอให้ข้อมูลข้อเท็จจริง เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ดังนี้ ประเด็นที่ 1...
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวปลอม! ป้องกันการติดโควิด-19 ด้วยการฉีดวัคซีนปอดอักเสบจากกรณีที่มีผู้โพสต์และแชร์ข้อมูลว่า ป้องกันการติดโรคโควิด 19 ด้วยการฉีดวัคซีนปอดอักเสบ ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เป็นข้อมูลเท็จ เพราะการใช้วัคซีนป้องกันโรคต้องเป็นวัคซีนที่ผลิตข
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวปลอม! ไข่ไก่เหี่ยวเกิดจากแม่ไก่เป็นโรคหลอดลมอักเสบติดต่อจากกรณีที่มีการแชร์ต่อกันว่า ไข่ไก่เหี่ยว เกิดจากแม่ไก่เป็นโรคหลอดลมอักเสบติดต่อ ทางกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เป็นไข่ไก่จริงที่มีลักษณะผิดปกติจากการสร้างไข่ของแม่ไก่ โดยมักเกิดจากแม่ไก่ที่มีสุข
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวปลอม อย่าแชร์! แพทย์แนะ 3 วิธี เลี่ยงเสียชีวิตกะทันหันตอนกลางคืน ไม่จริงตามที่มีผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง 3 วิธี หลีกเลี่ยงการเสียชีวิตกะทันหันในตอนกลางคืน แนะนำโดยแพทย์นั้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น
อ่านเพิ่มเติม »