นโยบาย “ทุนนิยมที่มีหัวใจ” ของพรรคเพื่อไทย ที่ต้องขับเคลื่อนผ่านด่านคณะกรรมการค่าจ้างหรือไตรภาคีจะสัมฤทธิผลหรือไม่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความคิดเห็นอย่างไร “ทีมเศรษฐกิจ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ” ขอประมวลมานำเสนอดังต่อไปนี้
ท่วงท่าของรัฐบาลในการขับเคลื่อนการขึ้นค่าแรง 400 บาททั่วประเทศ เป็นไปด้วยความขึงขัง จริงจัง และต่อเนื่อง นับตั้งแต่วันแรงงาน 1 พ.ค.2567 ที่ พิพัฒน์ รัชกิจประการ รมว.แรงงาน จากโควตาพรรคภูมิใจไทย ประกาศมีบิ๊กเซอร์ไพรส์ ตอกย้ำนโยบายปรับขึ้นค่าแรงทั่วประเทศเป็นวันละ 400 บาทในวันที่ 1 ต.ค.2567
แต่ รมว.แรงงานตอกย้ำว่า เป้าหมายคือการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ในวันที่ 1 ต.ค.
ขณะเดียวกัน รัฐบาลควรพิจารณาจากทักษะฝีมือแรงงาน และควรเร่งส่งเสริมมาตรการทางภาษี ลดอุปสรรคต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อจูงใจให้ผู้ประกอบการและแรงงาน ให้ความสำคัญกับการ UP-Skill & Re-Skill และ New Skill สร้างแรงงานทักษะฝีมือและเพิ่มผลิตภาพแรงงาน เพราะค่าจ้างขั้นต่ำเป็นเพียงค่าจ้างความท้าทายและข้อจำกัดเชิงโครงสร้างยังส่งผลให้ภาคการผลิตและการส่งออก ไม่สามารถฟื้นตัวได้อย่างเต็มที่ เห็นได้จากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน มี.ค.2567 ที่หดตัว -5.
“ในส่วนของการปรับขึ้นอัตราค่าจ้าง ภาครัฐควรยึดหลักการจ้างงานตามทักษะฝีมือแรงงาน ซึ่งเป็นนโยบายหนึ่งที่ได้มีการส่งเสริมแรงงาน มาตลอดหลายปีที่ผ่านมา โดยปัจจุบันกรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้ประกาศมาตรฐานฝีมือแรงงาน 7 สาขาอาชีพ รวม 272 สาขา ส่วนใหญ่จะมีการจ้างค่าตอบแทนในอัตราที่สูงกว่าที่กำหนด”การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ในมุมมองของรัฐบาลอาจจะมองจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น ขณะนี้เงินเฟ้อขึ้นทุกปี จึงต้องการปรับขึ้นค่าแรงเพื่อเพิ่มกำลังซื้อและอำนาจในการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน...
“ทุกวันนี้ ค่าอาหารตามสั่ง ข้าวหมูแดง ต่อมื้อต้องจ่าย 50-60 บาท ยังไม่รวมน้ำ ไม่รวมขนมหวาน ค่าเดินทาง ค่าน้ำ ค่าไฟ ทุกอย่างแพงหมด แต่ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำไม่ได้ปรับขึ้น ถึงแม้รัฐบาลจะปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาทต่อวันใน 10 จังหวัดพื้นที่ท่องเที่ยว แต่ในความเป็นจริง พื้นที่ท่องเที่ยวเหล่านี้ ค่าแรงขั้นต่ำเกิน 400 บาทต่อวันไปหมดแล้ว รัฐบาลทำงานมากว่า 7 เดือน แต่เรื่องค่าแรงขั้นต่ำ พูดมาหลายครั้งแล้ว...
การขึ้นค่าแรงวันละ 400 บาททั่วประเทศจะส่งผลให้ต้นทุนของสินค้าทุกอย่างขึ้นตามไปด้วย โรงแรมก็ต้องมาดูว่าจะบริหารได้ไหม ถ้าไม่ได้ก็ต้องลดจำนวนลูกจ้างลง ทำให้คนว่างงานเพิ่มขึ้น
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
บอร์ดค่าจ้าง เหตุผล ขึ้นค่าแรง 400 บาท โรงแรม ก่อนถึงคิวทั่วประเทศตุลาคมนี้เปิดเหตุผล “บอร์ดค่าจ้าง” ขึ้นค่าแรง 400 บาทต่อวัน ธุรกิจโรงแรม 10 จังหวัด ก่อนถึงคิว 400 บาททั่วประเทศ ดีเดย์ ตุลาคมนี้
อ่านเพิ่มเติม »
รัฐบาลคาดค่าจ้างขั้นต่ำ 400 ทั่วประเทศบังคับใช้ ก.ย.-ต.ค.นี้รองโฆษกรัฐบาลเผยค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ คาดประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีผลบังคับใช้เดือน ก.ย.-ต.ค.นี้ วันนี้ (14 พ.ค.2567) นายคารม พลพรกลาง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบรายงานความคืบหน้าการกำหนดอัตราค่าจ้าง 400 บาททั่วประเทศ โดยกระทรวงแรงงานและคณะกรรมการค่าจ้าง ได้ดำเนินการ ดังนี้1.
อ่านเพิ่มเติม »
จับตาขึ้นค่าแรง 400 บาท ลุ้นประชุมไตรภาคี ชี้ขาดวันนี้จับตาคณะกรรมการค่าจ้าง ตัวแทนนายจ้าง-ลูกจ้าง-รัฐบาล ประชุมวันนี้ ถกปรับค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ วันที่ 14 พฤษภาคม 2567 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้
อ่านเพิ่มเติม »
ต่างมุม!! 'นายจ้าง ลูกจ้าง' หนุน-ค้าน ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาทนายจ้าง -ลูกจ้าง เดินทางเข้าพบรมว.แรงงาน 'หนุน -ค้าน ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ทุกอาชีพ' รมว.แรงงาน ยืนยันถึงเวลาต้องปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ
อ่านเพิ่มเติม »
สมาพันธ์แรงงานไทย บุกก.แรงงาน แสดงจุดยืนขึ้นค่าแรง 400 บาททั่วประเทศปธ.สมาพันธ์สมานฉันท์แรงงานไทย นำตัวแทนบุกกระทรวงแรงงาน แสดงจุดยืนให้มีการปรับค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ
อ่านเพิ่มเติม »
เอกชนค้านขึ้นค่าแรง 400 บาททั่วประเทศ แนะปรับตามความพร้อมภาคธุรกิจภาคเอกชน ยื่นคัดค้านการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ เสนอพิจารณารายจังหวัดตามสภาพเศรษฐกิจและความสามารถของผู้ประกอบการ ปลัดกระทรวงแรงงาน ยันขึ้นค่าแรง 1 ตุลาคม แต่จะศึกษาและพิจารณาให้รอบครอบ
อ่านเพิ่มเติม »