ก.ล.ต. ลงโทษสั่งปรับ เอกลาภ ยิ้มวิไล กระทำผิดมาตรา 94 พ.ร.ก.สินทรัพย์ดิจิทัล และ Zipmex กระทำผิดมาตรา 31 พ.ร.ก.สินทรัพย์ดิจิทัล รวม 13 ข้อหา คิดเป็นค่าปรับกว่า 10.97 ล้านบาท อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
จากรายงานสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนายเอกลาภ ยิ้มวิไล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซิปเม็กซ์ จำกัด กระทำผิดมาตรา 94 พ.ร.ก.สินทรัพย์ดิจิทัล รวม 7 ข้อหา คิดเป็นค่าปรับรวม 5,821,000 ล้านบาท ขณะที่ บริษัท ซิปเม็กซ์ จำกัด กระทำผิดมาตรา 31 พ.ร.ก.สินทรัพย์ดิจิทัล 6 ข้อหา คิดเป็น 5,156,000 ล้านบาท รวมเป็น 13 ข้อหา คิดเป็นค่าปรับรวมทั้งสิ้น 10,977,000 ล้านบาท 1.
4.นายเอกลาภ ยิ้มวิไล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซิปเม็กซ์ จำกัด ซึ่งรับผิดชอบการดำเนินงานของ Zipmex สั่งการหรือกระทำการหรือละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทำการอันเป็นเหตุให้ Zipmex ไม่รายงานสรุปการมอบหมายให้บุคคลอื่นเป็นผู้รับดำเนินการในงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจประจำปี 2565 ภายในกำหนดระยะเวลาตามหลักเกณฑ์ที่ประกาศกำหนด คือ 31 ธันวาคม 2565 มีคำสั่งเปรียบเทียบที่ 2/2566 โดยปรับเป็นเงิน 681,000.
โดยคณะกรรมการเปรียบเทียบได้กำหนดค่าปรับรายวันจนกว่า Zipmex จะปฏิบัติในเรื่องที่ฝ่าฝืนกฎหมายให้ถูกต้อง ทั้งนี้ ค่าปรับที่ปรากฏดังกล่าวยังไม่รวมจำนวนค่าปรับรายวันตั้งแต่วันถัดจากวันที่เปรียบเทียบความผิดจนถึงวันที่บริษัทได้ปฏิบัติถูกต้องภายในกำหนดเวลาตามการเปรียบเทียบความผิด 2.ระหว่างวันที่ 8 พฤษภาคม 2565 จนถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2565 บริษัท ซิปเม็กซ์ จำกัด ในฐานะผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ประเภทศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลและนายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล ประกอบกิจการอื่นนอกเหนือจากการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล โดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. โดยชักชวนลูกค้าของตนไปใช้บริการโครงการ ZipUp+ ของ Zipmex Pte. Ltd.
โดย คณะกรรมการเปรียบเทียบได้กำหนดค่าปรับรายวันจนกว่า Zipmex จะปฏิบัติในเรื่องที่ฝ่าฝืนกฎหมายให้ถูกต้อง ทั้งนี้ ค่าปรับที่ปรากฏดังกล่าวยังไม่รวมจำนวนค่าปรับรายวันตั้งแต่วันถัดจากวันที่เปรียบเทียบความผิดจนถึงวันที่บริษัทได้ปฏิบัติถูกต้องภายในกำหนดเวลาตามการเปรียบเทียบความผิด
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ก.ล.ต.ฟัน “ซิปเม็กซ์-เอกลาภ” ทำธุรกิจผิดประเภทปรับ 11 ล้านก.ล.ต.ลงโทษ “ซิปเม็กซ์” พร้อม “เอกลาภ” ทำธุรกิจผิดประเภทนอกเหนือจากที่ได้รับอนุญาต ด้วยการชักชวนลูกค้าลงทุนใช้บริการโครงการ “ZipUp+” จูงใจให้อัตราผลตอบแทนสูง พ่วงกระทำผิดพ.ร.ก.สินทรัพย์ฯ ดิจิทัล อีกเพียบรวม 13 กรณี สั่งเปรียบเทีย
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต.เปิดให้ผู้ร่วมโครงการ Sandbox ยื่น Filing ขอออกเสนอขายตราสารหนี้ผ่าน Web Portal : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดให้ผู้เข้าร่วมโครงการ Sandbox การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructure) สามารถยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล (filing) ต่อ ก.ล.ต. เพื่อขออนุมัติออกเสนอขายตราสารหนี้ผ่านระบบ Web Portal ได้ตั้งแต่วันนี้ ตามที่ ก.ล.ต. ได้เปิดให้ผู้พัฒนาและให้บริการระบบ (main operator) ผู้ออกหลักทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการ Sandbox ในโครงการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructure) ร่วมทดสอบระบบ Web Portal ที่รองรับกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมตราสารหนี้ตลาดแรก (primary market) เพื่อให้มีบริการร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและมีการปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกันก่อนเปิดใช้งานจริง ในรอบแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2566 นั้น ขณะนี้ การพัฒนาระบบ Web Portal ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ และพร้อมเปิดการทดสอบ (go-live) เพื่อให้บริการกับผู้ใช้งานจริงแล้ว โดยระบบจะเปิดให้เริ่มยื่นข้อมูลเพื่อขอออกเสนอขายตราสารหนี้ต่อ ก.ล.ต. ได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ซึ่งในระยะแรกจะรองรับตราสารหนี้ทั่วไปที่มีลักษณะไม่ซับซ้อนที่ออกเสนอขายในวงจำกัดเฉพาะ (private placement) สำหรับการทดสอบระบบ Web Portal […]
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต.สั่ง STARK ชี้แจงกรณีบอร์ดลาออกยกชุด-ค้างส่งงบการเงิน ให้ นลท.รอติดตามข้อมูลสำนักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย- -24 เม.ย. 66 9:31: น. ก.ล.ต. สั่ง STARK ชี้แจง กรณีกรรมการ 7 คนลาออก และค้างส่งงบการเงิน พร้อมขอให้ผู้ลงทุนติดตามข้อมูล ด้านบริษัทแจ...
อ่านเพิ่มเติม »
กลุ่มปตท.-โตโยต้าลีสซิ่ง ตบเท้าเข้า Sandbox ก.ล.ต.ทดสอบหุ้นกู้ดิจิทัลสำนักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย- -24 เม.ย. 66 13:14 น. PTT-PTTGC-KBANK-KKP-โตโยต้า ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) เข้าร่วมโครงการ Sandbox ก.ล.ต.ในกลุ่ม 'ผู้ออกหลักทรัพย์' เพื่อทดส...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต. เตือนผถห. NUSA ใช้สิทธิโหวตวาระซื้อหุ้น DEMCO-กู้เงิน THANA หลัง IFA ชี้ 'ไม่เหมาะสม' : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ขอให้ผู้ถือหุ้น บมจ. ณุศาศิริ (NUSA) ศึกษาข้อมูลและไปใช้สิทธิออกเสียงในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในวันที่ 28 เมษายน 2566 กรณี NUSA ได้ซื้อหุ้นสามัญของ บมจ.เด็มโก้ (DEMCO) จำนวน 90,730,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 5 บาท คิดเป็นมูลค่ารวม 453.65 ล้านบาท จากบริษัท ธนา พาวเวอร์ โฮลดิ้ง จำกัด (THANA) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ NUSA และรับความช่วยเหลือทางการเงินจาก THANA จำนวน 600 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8.75 ต่อปี ระยะเวลาการกู้ยืม 6 เดือน และมีหลักประกันเป็นหุ้นของบริษัท วินด์ เอนเนอร์ยี่ โฮลดิ้ง จำกัด (WEH) จำนวน 2.60 ล้านหุ้น (คิดเป็นมูลค่า 452.32 ล้านบาท) […]
อ่านเพิ่มเติม »
พาณิชย์เผยไตรมาสแรกต่างชาติขนเงินลงทุนในไทย 3.3 หมื่นล้านไตรมาสแรกปี 2566 ต่างชาติลงทุนในไทย 33,048 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกปี 2565 กว่า 25% หรือ 6,664 ล้านบาท ญี่ปุ่นขึ้นแท่นลงทุนอันดับหนึ่ง 12,172 ล้านบาท ตามด้วย จีน 10,987 ล้านบาท และสิงคโปร์ 4,507 ล้านบาท จ้างงานคนไทย 1,932 คน
อ่านเพิ่มเติม »