การโจมตีของฮามาสในครั้งนี้ ลงมือกระทำอย่างมีความหมายเชิงสัญลักษณ์ ในวาระครบรอบ 50 ปีกับอีก 1 วันของการจู่โจมแบบเซอร์ไพรซ์ทำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นการเปิดฉาก “สงครามยมกิปปูปร์” ปี 1973 ที่ก่อให้เกิดความวิบัติใหญ่โต
เวลาผ่านไป 50 ปีกับอีก 1 วันพอดิบพอดี หลังจากที่เคยเผชิญกับการโจมตีทางทหารแบบมีการร่วมมือประสานงานกันของ 2 ชาติเพื่อนบ้านอันได้แก่ อียิปต์ และซีเรีย ชนิดไม่ทันระวังตั้งตัวโดยสิ้นเชิง ตอนนี้อิสราเอลก็ประสบกับความเซอร์ไพรซ์แบบสุดๆ อีกคำรบหนึ่ง
สงครามเมื่อปี 1973 ได้รับการพิสูจน์ให้เห็นว่ามันเป็นชั่วเวลาแห่งการแบ่งยุคแบ่งสมัย ไม่เพียงสำหรับการสู้รบขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับกับชาวอิสราเอลเท่านั้น แต่ยังสำหรับการเมืองของอิสราเอลอีกด้วย สงครามครั้งนี้จะบังเกิดผลในทำนองเดียวกันหรือไม่?แน่นอนทีเดียวว่าการระเบิดขึ้นมาของสงครามอย่างฉับพลันทำให้ชาวอิสราเอลตกอยู่ในภาวะช็อกอย่างล้ำลึกอีกคำรบหนึ่ง แบบเดียวกับที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ 50 ปีที่แล้ว สงครามหนนี้ก็เช่นเดียวกับคราวที่เกิดในปี 1973...
ตรงกันข้าม สถาบันข่าวกรอง และพวกนักวิเคราะห์จำนวนมากต่างเชื่อว่า ฮามาสจะเลือกใช้วิธีส่งออกความรุนแรงของชาวปาเลสไตน์ไปที่เวสต์แบงก์ ดินแดนอีกแห่งหนึ่งของชาวปาเลสไตน์ซึ่งตกอยู่ใต้การยึดครองของกองทหารอิสราเอลโดยตรง แถมการกระทำเช่นนี้ยังอาจช่วยเหลือฮามาสในการบ่อนทำลายสั่นคลอน องค์การบริหารปาเลสไตน์ ที่นำโดยกลุ่มปรปักษ์ทางการเมืองของฮามาส...
ทว่ามันไม่ใช่เพียงแค่ความล้มเหลวทางข่าวกรอง มันยังเป็นความล้มเหลวทางการทหารอีกด้วย ในเมื่อเห็นกันได้อย่างชัดเจนว่า กองทัพอิสราเอลที่ใช้ชื่อว่า กองกำลังอาวุธป้องกันอิสราเอล ไม่ได้มีการเตรียมพร้อมสำหรับรับมือกับการโจมตีที่มีขนาดขอบเขตเช่นนี้ – อันที่จริงแล้ว หน่วยทหารส่วนใหญ่ของ IDF ถูกส่งออกไปประจำการอยู่ในเขตเวสต์แบงก์
ทว่าสำหรับสงครามครั้งนี้ มันไม่น่าจะใช่ฝ่ายทหารและสถาบันข่าวกรองหรอกที่สมควรถูกประณามหนักที่สุด แต่มันเป็นสถาบันทางการเมืองของอิสราเอล –และเหนือกว่าใครๆ ทั้งหลายทั้งปวง ก็คือ เนทันยาฮู ซึ่งเป็นผู้นำพาประเทศชาติแห่งนี้มาตั้งแต่ปี 2009 โดยมีว่างเว้นเพียงแค่ 1 ปีในช่วงระหว่างปี 2021 – 2022 เท่านั้น พิจารณากันในแง่มุมกว้างขวางมากยิ่งขึ้น จากการโจมตีล่าสุดนี้มันก็เป็นที่ชัดเจนว่า ยุทธศาสตร์ของเนทันยาฮูที่มุ่งปิดล้อมและป้องกันฮามาสนั้น ได้ประสบความล้มเหลวอย่างชนิดก่อให้เกิดความหายนะ มันเป็นความหายนะสำหรับชาวอิสราเอล โดยเฉพาะผู้ที่พำนักอาศัยในบริเวณภาคใต้ของประเทศ และเป็นความหายนะมากยิ่งขึ้นกว่านั้นเสียอีกสำหรับบรรดาพลเรือนชาวปาเลสไตน์ที่อาศัยอยู่ในกาซา
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
50 YEARS OF KISS AND FAREWELL?ดนตรี / ทิวา สาระจูฑะ เมื่อปลายเดือนมกราคม 2019 คิสส์ เริ่มออกทัวร์ทั่วโลกอีกครั้งในชื่อ The End of the Road World Tour และครั้งนี้พวกเขาประกาศว่าเป็นครั้งสุดท้าย หลังจากที่โลดแล่นอยู่ในวงการดนตรีร็อกมานานถึง 5 ทศวรรษ คิสส์ เป็นวงร็อคอเมริกันที่ก่อตั้งในนิวยอร์คเมื่อปี 1973 โดยเด็กหนุ่ม 4 คน พอล สแตนลีย์ นักร้องนำ/มือกีตาร์, ยีน ซิมมอนส์ มือเบสส์,...
อ่านเพิ่มเติม »
14 ตุลาฯ เจ้าฝันถึงโลกสีใด ฟัง”สุรชาติ บำรุงสุข” เล่าย้อนเหตุการณ์ 50 ปีก่อนในวาระครบรอบ 50 ปี 14 ตุลาฯ สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ร่วมกับศูนย์ข้อมูลมติชน จัดเสวนาพิเศษ “50 ปี 14 ตุลา เจ้าฝันถึงโลกสีใด” ฟัง
อ่านเพิ่มเติม »
14 ตุลาฯ เจ้าฝันถึงโลกสีใด ฟัง”สุรชาติ บำรุงสุข” เล่าย้อนเหตุการณ์ 50 ปีก่อนในวาระครบรอบ 50 ปี 14 ตุลาฯ สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ร่วมกับศูนย์ข้อมูลมติชน จัดเสวนาพิเศษ “50 ปี 14 ตุลา เจ้าฝันถึงโลกสีใด” ฟัง
อ่านเพิ่มเติม »
50 YEARS OF KISS AND FAREWELL?ดนตรี / ทิวา สาระจูฑะ เมื่อปลายเดือนมกราคม 2019 คิสส์ เริ่มออกทัวร์ทั่วโลกอีกครั้งในชื่อ The End of the Road World Tour และครั้งนี้พวกเขาประกาศว่าเป็นครั้งสุดท้าย หลังจากที่โลดแล่นอยู่ในวงการดนตรีร็อกมานานถึง 5 ทศวรรษ คิสส์ เป็นวงร็อคอเมริกันที่ก่อตั้งในนิวยอร์คเมื่อปี 1973 โดยเด็กหนุ่ม 4 คน พอล สแตนลีย์ นักร้องนำ/มือกีตาร์, ยีน ซิมมอนส์ มือเบสส์,...
อ่านเพิ่มเติม »
บะหมี่ฯยังโต ‘มาม่า’ ลงทุนใหญ่รอบ 20 ปี ทุ่ม 2,000 ล้านบาท ผุดโรงงานใหม่“มาม่า” หนึ่งในกิจการใต้อาณาจักร 3 แสนล้านบาทอย่าง “เครือสหพัฒน์” และสร้างการเติบโตกว่า 50 ปี เป็น “เบอร์1” มีส่วนแบ่งทางการตลาดแข็งแกร่งเกินกว่า 50% ในตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมูลค่าประมาณ 20,000 ล้านบาท
อ่านเพิ่มเติม »