ทวี สุรฤทธิกุล การเมืองเป็นเรื่องของการใช้อำนาจ “อำนาจ” เป็นเรื่องของ “อารมณ์” โดยแท้ ซึ่งตรงข้ามกับ “เหตุผล” ตำรารัฐศาสตร์ของโลกมักจะกล่าวถึงการกำเนิดของวิชาการเรื่องนี้ว่าเกิดในประเทศกรีก เมื่อประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว โดยมี “โสกราตีส” เป็น “บิดา” คือผู้สถาปนาหรือผู้เริ่มสั่งสอนเกี่ยวกับการแสวงหาความรู้ ที่เรียกว่าวิชา “ปรัชญา” รวมถึงเรื่อง...
ตำรารัฐศาสตร์ของโลกมักจะกล่าวถึงการกำเนิดของวิชาการเรื่องนี้ว่าเกิดในประเทศกรีก เมื่อประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว โดยมี “โสกราตีส” เป็น “บิดา” คือผู้สถาปนาหรือผู้เริ่มสั่งสอนเกี่ยวกับการแสวงหาความรู้ ที่เรียกว่าวิชา “ปรัชญา” รวมถึงเรื่อง “ปรัชญาการเมือง” โดยพยายามที่จะหา “เหตุผล” มาอธิบายปรากฏการณ์และพยากรณ์เกี่ยวกับการเมือง เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ “อารมณ์” ที่ผู้มีอำนาจหรือผู้ปกครองชอบใช้ ทว่าโสกราตีสก็ต้องเสียชีวิตด้วยอารมณ์ของผู้ปกครอง ที่เห็นว่าโสกราตีสเป็นศัตรูต่อความคิดความเชื่อของผู้คนในสมัยนั้น...
โทมัส ฮอปส์ คือคนแรก ๆ ที่พยายามจะหาคำตอบเรื่องนี้ แต่เนื่องจากในยุคนั้นประเทศอังกฤษยังเป็นราชาธิปไตย เขาจึงพยายามหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึงกษัตริย์โดยตรง โดยพูดถึงธรรมชาติของมนุษย์ว่าชอบแก่งแย่งชิงดีกัน จึงต้องมี “สิ่งที่มีอำนาจเหนือ” เข้ามาควบคุม และเรียกเจ้าสิ่งนั้นว่า “Leviathan” ต่อมานักคิดอย่างจอห์น ล็อค และจัง จาร์ค รุซโซ ก็วิเคราะห์ถึงธรรมชาติชาติของมนุษย์เช่นกัน แต่มองไปในด้านที่ดีว่ามนุษย์เป็นสัตว์มีเหตุผล ในธรรมชาติจะมีความเป็นอิสระ ที่เรียกว่า “เสรีภาพ” นั้นสูง...
ทุกวันนี้ทุกประเทศใช้กฎหมายในการปกครองประเทศ แต่กฎหมายนั่นเองก็มาจากอารมณ์เป็นส่วนใหญ่ นั่นก็คือ “อารมณ์ของผู้มีอำนาจ” ถ้าอำนาจนั้นอยู่ที่ผู้ปกครอง หรือที่เรียกกันว่าเผด็จการแบบต่าง ๆ กฎหมายนั้นก็จะถูกกำหนดขึ้นจากอารมณ์ของผู้เผด็จการนั้น ตรงกันข้ามในประเทศประชาธิปไตย ที่ว่ากันว่าประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจ กฎหมายต่าง ๆ ตั้งแต่รัฐธรรมนูญลงมาก็ล้วนแต่เกิดจากอารมณ์ของประชาชน...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
นักเศรษฐศาสตร์ ยก 'ป๋วย อึ๊งภากรณ์‘ เป็น บิดา ผู้วางรากฐานนโยบายเศรษฐกิจไทยนักเศรษฐศาสตร์ ยก ‘ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์‘ เป็นบิดานักสู้ บิดาแห่งการวางรากฐาน นโยบายเศรษฐกิจไทย ผู้ต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย
อ่านเพิ่มเติม »
พรรคการเมืองมีไว้ทำไม ? (จบ)ทวี สุรฤทธิกุล “พรรคการเมืองแบบประชาธิปไตยต้องล้มลุกคลุกคลาน แต่ถ้าอิงเผด็จการจะอยู่รอดได้นาน” นั่นคือ “ดีลลับ” ที่เกิดขึ้นหลังการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 ที่มีคนพบว่านายทหารในกลุ่มอำนาจเก่าบางคนได้ไปพบกับผู้นำของฝ่ายประชาธิปไตยที่เกาะลังกาวี ในทะเลอันดามัน ใกล้ชายแดนไทย อันนำมาสู่การจัดตั้งรัฐบาลที่มีนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 19...
อ่านเพิ่มเติม »
ครูไพลิน : ศักดินาเปรียบเทียบ (2)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล โดยธรรมชาติมนุษย์อาจจะไม่เท่าเทียมกัน แต่ในทางสังคมมนุษย์ควรจะเท่าเทียมกัน ไพลินก็เหมือนกับคนไทยจำนวนมาก ที่ยอมรับความไม่เท่าเทียมกัน เช่น ความรวย ความจน ความทุกข์ และความสุข เป็นต้น โดยมองว่าเป็นเรื่องของ “เวรกรรม” และ “โชคลาภวาสนา” อันได้มาจากบุญกุศลที่ทำมาตั้งแต่ชาติก่อน ๆ...
อ่านเพิ่มเติม »
17 ปีไม่คืบ บิดา 'โทโมโกะ' ร้อง 'ทวี' ขอคดีไม่มีอายุความ'ยาสึอากิ คาวาชิตะ' บิดานักท่องเที่ยวญี่ปุ่นและครอบครัว เข้าพบ รมว.ยธ. ตามความคืบหน้าคดีฆาตกรรมโทโมโกะ ขอให้คดีไม่มีอายุความเช่นเดียวกับญี่ปุ่น ด้าน ยธ.รับลูกแก้กฎหมายคดีฆาตกรรมไม่มีอายุความ พร้อมแลกเปลี่ยนข้อมูลคดีไทย-ญี่ปุ่น วันนี้ (15 ก.พ.2567) นายยาสึอากิ คาวาชิตะ พ่อของ น.ส.
อ่านเพิ่มเติม »
พรรคการเมืองมีไว้ทำไม? (1)ทวี สุรฤทธิกุล ผู้เขียนขอยืมคำของ อดัม สมิท ที่บอกว่า “รัฐและการปกครองเป็นสิ่งชั่วร้ายแต่จำเป็นต้องมี” มาแปลงเป็นว่า “พรรคการเมืองเป็นสิ่งชั่วร้ายและจำเป็นต้องมี” เพราะพรรคการเมืองเป็นส่วนหนึ่งของรัฐและการปกครอง ก่อนที่จะมีพรรคการเมืองมาเป็นกลไกหนึ่งในการปกครองประเทศ บรรดารัฐหรือประเทศต่าง ๆ ในโลกยุคโบราณจะมีการปกครองแบบ “คนคนเดียว” แทบทั้งนั้น...
อ่านเพิ่มเติม »
ลุงคำปัน : พระเจ้า ผีสาง และเทวดาลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าโลกนี้ไม่มี “สิ่งลี้ลับ” มีแต่เพียงสิ่งที่ยังไม่สามารถ “ไขความลับ” ลุงคำปันเป็นชาวเขาเผ่าม้ง หรือที่คนทั่วไปเรียกว่า “แม้ว” (แต่คนม้งเองไม่ชอบให้เรียกว่าแม้ว เพราะเหมือนถูกล้อเลียนว่าเป็นแมว อย่างที่คนพื้นถิ่นบางแห่งก็เรียกม้งนี้ว่า “เหมียว” : ข้อมูลจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร)...
อ่านเพิ่มเติม »