การเงินเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย...รศ.ดร.ขนิษฐา แต้มบุญเลิศชัย คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3986
เศรษฐกิจโลกพึ่งพาธรรมชาติอย่างมาก จากการประมาณการของ World Economic Forum พบว่า มูลค่าของภาคส่วนเศรษฐกิจที่พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติในระดับปานกลาง ไปจนถึงระดับสูง รวมแล้วนับเป็นกว่าครึ่งของมูลค่าเศรษฐกิจโลก
การขาดแคลนเงินทุนสนับสนุนกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน เป็นปัจจัยสำคัญที่บั่นทอนทุนทางธรรมชาติ ซึ่งในกรอบงานคุนหมิง-มอนทรีออลว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพของโลก ที่ภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 196 ประเทศให้การรับรองเมื่อปลายปี พ.ศ. 2565 ได้กำหนดให้การแก้ปัญหาด้านการเงินเป็นหนึ่งในสี่เป้าประสงค์สำหรับปี ค.ศ. 2050
ดังจะเห็นได้จากแคตตาล็อกกลไกการเงินที่ได้รวบรวมไว้ โดยโครงการไบโอฟิน ของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเครื่องมือทั้งหมดมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน การเพิ่มรายรับ ให้แก่กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ และ การดำเนินกิจกรรมที่ช่วยลดรายจ่ายในอนาคต โดยการลงทุนในความหลากหลายทางชีวภาพและการปรับเปลี่ยนนโยบาย ทั้งนี้ประเทศไทยได้เริ่มขับเคลื่อนกลไกการเงินเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ ผ่านโครงการนำร่องของโครงการ BIOFIN
การเงิน คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ ความหลากหลายทางชีวภาพ รศ.ดร.ขนิษฐา แต้มบุญเลิศชัย
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ถอดรหัสเกม “บิ๊กโจ๊ก” ฟ้องดะ-เล่นใหญ่ หวังชนะฟาวล์?ถอดรหัสเกม “บิ๊กโจ๊ก” ฟ้องดะ-เล่นใหญ่ หวังชนะฟาวล์? : รายงานพิเศษ โดย...ทีมข่าวการเมือง หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3986
อ่านเพิ่มเติม »
“รศ.ดร.ปิติ”โพสต์สิ่งที่คนไทยและรัฐไทยควรทำและไม่ควรทำจากวิกฤติอิสราเอล-ปาเลสไตน์รศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก Piti Srisangnam ระบุว่าถอดบทเรียนวิกฤตอิสราเอล-ปาเลสไตน์: สิ่งที่คนไทยและรัฐไทยควรทำ และไม่ควรทำก่อนอื่นต้องขอแสดงความเสียใจ และขอเป็นกำลังใจให้กับคนไทยและประช
อ่านเพิ่มเติม »
'รศ.ดร.ปิติ' เล็คเชอร์สิ่งที่คนไทยและรัฐไทยควรทำ และไม่ควรทำจากวิกฤติอิสราเอล-ปาเลสไตน์เมื่อวันที่ 10 ต.ค.66 รศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว Piti Srisangnam ระบุว่า...
อ่านเพิ่มเติม »