การจัดการเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อเกษียณอายุ ฐานเศรษฐกิจ
เพื่อนสมาชิกทราบหรือไม่ว่า เมื่อเกษียณอายุ เพื่อนสมาชิกมีตัวเลือกในการจัดการเงินกองทุนได้หลายวิธี โดยหากมีเงินหรือแหล่งรายได้อื่นสำหรับใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน สามารถเลือกวิธีการคงเงินทั้งหมดไว้ในกองทุน เพื่อให้เกิดการลงทุนต่อเนื่องต่อไปและมีโอกาสทำให้ผลตอบแทนงอกเงยเพิ่มขึ้น โดยปัจจุบันการคงเงินไว้ในกองทุนจะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 500 บาทต่อปี นอกจากนี้ ในกรณีที่จำเป็นต้องนำเงินจากกองทุนออกมาเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน เพื่อนสมาชิกอาจเลือกวิธีการทยอยรับเงินเป็นงวด เช่น รายไตรมาส รายครึ่งปี หรือรายปี...
ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของเงินกองทุนในส่วนของสมาชิกที่เกษียณแล้วทางเลือกวิธีสุดท้าย คือ การถอนเงินจากกองทุนออกมาทั้งหมด วิธีการนี้อาจไม่เหมาะสำหรับเพื่อนสมาชิกที่ยังมีความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการเงินไม่มากพอหรือไม่มีความเชี่ยวชาญในการนำไปลงทุนด้วยตนเอง หรืออาจจะมีวินัยในการใช้เงินไม่ดีนัก ซึ่งหากเลือกใช้วิธีการนำเงินไปฝากไว้กับธนาคารพาณิชย์ทั้งหมด ผลตอบแทนที่ได้รับจากการฝากเงินมักจะต่ำกว่าอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งก็คือต่ำกว่าระดับราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ก.ล.ต. ประสานขอความร่วมมือ “ดีอีเอส” พิจารณาดำเนินการกรณีหลอกลวงลงทุนผ่านโซเชียลมีเดียสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ประสานขอความร่วมมือไปยังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส)
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต. ประสาน DES เอาผิดกรณีหลอกลวงลงทุนผ่านโซเชียลมีเดีย : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ประสานขอความร่วมมือไปยังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) โดยนำส่งเอกสารหลักฐานกรณีพบพฤติกรรมหลอกลวงลงทุนผ่านโซเชียลมีเดีย พร้อมแนะนำประชาชนตรวจสอบรายชื่อบุคคลที่แนะนำการลงทุน ผู้ประกอบธุรกิจ หรือหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจาก ก.ล.ต. ได้ที่แอปพลิเคชัน SEC Check First นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ ก.ล.ต. กล่าวว่า ตามที่ ก.ล.ต. ได้เข้าประชุมร่วมกับคณะกรรมการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมออนไลน์ โดยมีนายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานการประชุม เพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ปัญหาอาชญากรรมออนไลน์ที่สำคัญ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2565 นั้น ก.ล.ต. พร้อมให้ความร่วมมือกับดีอีเอสโดยหลังจาก ก.ล.ต. ได้รับแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อความโฆษณาชวนเชื่อและชักชวนให้ประชาชนลงทุนในลักษณะหลอกลวงผ่านช่องทางออนไลน์ และสื่อสังคมออนไลน์ (โซเชียลมีเดีย) ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายและอาจก่อให้เกิดความเสียหายกับประชาชน ก.ล.ต. ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและนำรายชื่อขึ้นไว้ใน Investor Alert บนเว็บไซต์ ก.ล.ต. เพื่อแจ้งเตือนประชาชนให้ระมัดระวัง พร้อมนี้ได้รวบรวมเอกสารหลักฐานและนำส่งให้กับดีอีเอสเพื่อดำเนินการต่อไป ในกรณีที่ ก.ล.ต. ตรวจพบว่ามีการกระทำอันเข้าข่ายเป็นความผิดตามกฎหมายภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต. เช่น พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ร.บ.สัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือพ.ร.ก.การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ผู้กระทำผิดอาจถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย …
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต. ประสานขอความร่วมมือ “ดีอีเอส” พิจารณาดำเนินการกรณีหลอกลวงลงทุนผ่านโซเชียลมีเดียสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ประสานขอความร่วมมือไปยังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) โดยนำส่งเอกสารหลักฐานกรณีพบพฤติกรรมหลอกลวงลงทุนผ่านโซเชียลมีเดีย พร้อมแนะนำประชาชนตรวจสอบรายชื่อบุคคลที่แนะนำการลงทุน ผู้ป
อ่านเพิ่มเติม »
'ก.ล.ต.' แจงไม่ได้กำกับดูแลกิจการ 'Forex' ยันเคยเตือนเรื่องการลงทุน Forex 3D ตั้งแต่ปี 62สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ออกหนังสือแจ้งเรื่อง อำนาจหน้าที่ของ สำนักงาน
อ่านเพิ่มเติม »
ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า การฟ้องร้องคดีล่าสุดของ SEC อาจบ่งชี้ได้ว่า “Ethereum เป็นหลักทรัพย์”ในวันจันทร์ที่ผ่านมา ก.ล.ต. ได้ยื่นฟ้องนาย Ian Balina ซึ่งเป็น Crypto influencer ในข้อหาไม่จดทะเบียนหลักทรัพย์ ก่อนเปิดระดมทุน ICO ในปี 2018 ทาง ก.ล.ต.
อ่านเพิ่มเติม »
รมว.ดีอีเอส เสียใจ ก.ล.ต.บอกไม่มีอำนาจทำคดี Forex 3D พร้อมรับมาทำเอง : อินโฟเควสท์นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กล่าวว่า กรณีที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ออกมาชี้แจงว่าไม่มีอำนาจในการเข้าไปกำกับดูแลคดี Forex 3D ฟังแล้วรู้สึกเสียใจที่ไม่มีหน่วยงานกำกับดูแลเรื่องนี้ เพราะหากปล่อยให้บริษัทตั้งขึ้นมาแล้วระดมทุนจากประชาชนผ่านเครือข่ายแชร์ลูกโซ่หรือโซเชียลมีเดียเป็นพันล้าน หมื่นล้าน หลอกลวงให้ประชาชนเสียหาย ก็จะไม่มีคนรับผิดชอบ กรณีที่ ก.ล.ต.ระบุว่าคดีนี้เป็นเรื่องการหลอกลวงต้องเป็นคดีอาญานั้น นายชัยวุฒิ กล่าวว่า จะนัดประชุมคณะกรรมการปราบปรามอาชญากรรมออนไลน์ หากพบเป็นช่องโหว่กฎหมายให้สามารถเปิดบริษัทแล้วหลอกลวงประชาชนมาลงทุนผ่านโซเชียลมีเดีย หรือเครือข่ายต่างๆ ได้โดยไม่ต้องขออนุญาต แสดงว่ากฎหมายไทยไม่ทันสมัยก็ต้องมีการปรับปรุง “อยากปิดเว็บและช่องทางเหล่านี้ถ้า ก.ล.ต.ไม่ทำ จะทำเอง แต่ต้องเพิ่มอำนาจให้กระทรวงดีอีเอส และต้องแก้กฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์” นายชัยวุฒิ ยืนยันว่า เรื่องนี้ ก.ล.ต.ต้องเข้าไปดูแลการลงทุนของประชาชน เพราะโดยปกติแล้วหากจะเปิดบริษัทระดมทุนรวม หรือระดมทุนจากประชาชนต้องขออนุญาตและขึ้นทะเบียนจาก ก.ล.ต.เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ซึ่ง ก.ล.ต.ต้องทำงานเชิงรุก โดยการแจ้งเตือนประชาชน ไม่ใช่ปล่อยให้มีการหลอกลวงประชาชนจนเสียหายเป็นพันเป็นหมื่นล้านแล้วตามเงินคืนไม่ได้ โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (20 ก.ย. 65) FacebookTwitterLine
อ่านเพิ่มเติม »