ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ ความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจึงเป็นฐานทางกฎหมายสุดท้ายที่องค์กรต่าง ๆ สามารถใช้เพื่อการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้ อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ด้วยเหตุนี้ ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ ความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจึงเป็นฐานทางกฎหมายสุดท้ายที่องค์กรต่าง ๆ สามารถใช้เพื่อการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้จึงไม่ใช่ทุก ๆ การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ต้องได้รับความยินยอมเสมอไป
แต่ “ความยินยอม” เป็นเพียงหนึ่งในหลาย ๆ ช่องทางที่กล่าวอ้างเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมตามที่กฎหมายกำหนดเท่านั้นความยินยอมที่ชอบด้วยกฎหมายก็ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในมาตรา 19 อย่างเคร่งครัด โดยในกรณีที่ไม่มีการกำหนดแบบหรือข้อความในการขอความยินยอมที่มีสภาพบังคับตามกฎหมายอื่นไว้เป็นการเฉพาะ องค์กรต่าง ๆ ในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลพึงดำเนินการดังนี้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
‘ทางเอก – ทางโท’ รู้ชัด แยกเป็นได้ไม่ยาก ไขข้องใจอภิสิทธิ์ของทางเอกทางเอก และทางโท คือส่วนหนึ่งของ “ทางร่วมแยก” ที่ต้องมีไว้ในกรณีที่ถนนตัดซอย หรือถนนทางเข้าออก - อาคาร ตามพ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 แต่ในบางครั้ง ผู้ขั..
อ่านเพิ่มเติม »
วิษณุ ชี้ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุมโควิด-19 ขึ้นกับ สธ.-ศบค.ประเมินสถานการณ์ : อินโฟเควสท์นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า กรณี นพ.อุดม คชินทร ที่ปรึกษาศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 (ศบค.) ระบุว่าเตรียมเสนอ ศบค.ให้พิจารณาไม่ขยายการบังคับใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่จะสิ้นสุด 30 ก.ย.นั้นก็อาจจะเป็นได้ แต่การประชุมวันนี้ไม่ได้มีการเสนอเข้ามา เพราะหากไม่ต่ออายุการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน อำนาจตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินก็สิ้นสุดลง ส่วน ศบค.จะอยู่หรือไปก็ได้ แต่โดยหลักก็ควรจะยุบ แต่อาจให้อยู่ตามอำนาจกฏหมายอีกฉบับหนึ่ง คือ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แต่ลดบทบาทและอำนาจหน้าที่ของ ศบค.ลง และส่งมอบให้กระทรวงสาธาณสุขจัดการ โดยไม่ต้องไปยุ่งกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) อีก ทั้งนี้ สถานการณ์โควิดขณะนี้มีความเป็นไปได้ที่จะไม่ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หรือไม่นั้น คงไม่สามารถตอบได้ ต้องถามจากกระทรวงสาธารณสุข และ ศบค.ซึ่งเป็นผู้ประเมินสถานการณ์ หากไม่ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ก็จะใช้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ฉบับเดิม ซึ่งอำนาจส่งกลับคืนไปให้กระทรวงสาธารณสุข ส่วน พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ที่ ครม.เคยเห็นชอบแล้ว ยังไม่ได้ประกาศใช้ เพราะต้องรอให้พิจารณาครอบคลุมกับโรคอุบัติใหม่ทุกชนิดก็เลยรั้งรอไว้ …
อ่านเพิ่มเติม »
'ศาลฎีกา' พิพากษากลับ ให้ลงโทษ 'กะเหรี่ยงแก่งกระจาน' คุก 2 ปี 8 เดือนที่ศาลจังหวัดเพชรบุรี ศาลนัดฟังคำพิพากษาศาลฎีกา คดีทวงคืนผืนป่า ตามที่พนักงานอัยการจังหวัดเพชรบุรีเป็นโจทย์ฟ้องจำเลย คือ นางวันเสาร์ ภุงาม ชาวบ้านกะเหรี่ยง บ้านท่าเสลา อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุรี ในความผิดต่อ พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ร.บ.ป่าไม้ และ พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ โดยมีชาวบ้านมาให้กำลังใจจำเลยกว่า 30 คน
อ่านเพิ่มเติม »
ฝ่ายค้านอัด 'รมว.ดีอีเอส' ตั้งศูนย์ดิจิทัลชุมชน เอื้อประโยชน์พวกพ้องนายวันนิวัติ สมบูรณ์ ส.ส.ขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อภิปรายนายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) เกี่ยวกับพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (PDPA) ซึ่งเป็นกฎหมายที่ดี
อ่านเพิ่มเติม »
ครม. ไฟเขียวหลักการร่าง พ.ร.ฎ.กำหนดข้อยกเว้นให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับ “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” ในกฎหมายนี้ มีหมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล PDPA ไทยรัฐออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »