เกษตรไทยรั้งท้ายเพื่อนบ้าน ต้นทุนการผลิต “ข้าว”สูงกว่าเวียดนาม 2 เท่าตัว “ปาล์ม” สูงกว่ามาเลเซีย 60 สตางค์ต่อ กก. “ยางพารา” สูงกว่ามาเลเซีย 1 เท่าตัว ชี้ปัญหาหลักติดกับดักประชานิยมพรรคการเมือง ใช้นโยบายแทรกแซงตลาด ฐานเศรษฐกิจ
เพื่อหวังคะแนนเสียงประชาชนคนฐานราก ซึ่งภาคเกษตรไทยใน 4 ปีข้างหน้าจะเป็นไปในทิศทางใดนั้น ขึ้นกับนโยบายของพรรคการเมืองที่กำลังหาเสียงกันอยู่ในขณะนี้ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เผยกับ “ฐานเศรษฐกิจ” ว่า ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ศักยภาพการแข่งขันภาคเกษตรไทยลดลงเรื่อย ๆ เฉพาะต้นทุนการผลิตอย่างเดียวก็แพ้แล้ว โดยในส่วนสินค้าเกษตรสำคัญของไทย เช่นจากข้อมูลของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานปี 2562 ต้นทุนการผลิตข้าวนาปีของไทย อยู่ที่ 7,701 บาทต่อตัน...
3.ที่นาของเวียดนามไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปทำอย่างอื่น ตามนโยบายของรัฐบาลเวียดนามและตามภูมิปัญญาตลอดจนค่านิยมที่ไม่ขายที่นาเพื่อเปลี่ยนเป็นสนามกอล์ฟ โดยการมีสุสานของบรรพบุรุษอยู่ในที่นา 4.ดินดำ น้ำชุ่ม มากกว่าร้อยละ 50 ที่ผลผลิตข้าวเวียดนามมาจากบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง 5.มีการพัฒนาพันธุ์ข้าวที่หลากหลาย โดยเฉพาะข้าวพันธุ์ไฮบริดที่ให้ผลผลิตมากกว่า 1 ตันขึ้นไป และ 6.
2.การจัดเก็บผลปาล์มของมาเลเซียเน้นเก็บผลปาล์มสดสุกทำให้ได้เปอร์เซ็นต์น้ำมันและราคาสูง 3.รัฐบาลมาเลเซียส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มอย่างจริงจัง ทั้งการขยายผลผลิตและพัฒนาอุตสาหกรรมโอเลโอเคมีคัลหลากหลายผลิตภัณฑ์ ทำให้อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มของมาเลเซียเข้มแข็งและผลิตครบวงจรต้นทุนการผลิตโดยเฉลี่ยของไทยสูงกว่ามาเลเซียและเวียดนาม เช่น ยางก้อนถ้วยไทยอยู่ที่ 44.2 บาทต่อ กก. มาเลเซีย 27.1 บาทต่อ กก.และเวียดนาม 29 บาทต่อ กก.
“นอกจากต้นทุนแล้ว ผลผลิตต่อไร่สินค้าเกษตรสำคัญของไทยยังต่ำกว่าคู่แข่ง โดยยางพาราไทยเฉลี่ยอยู่ที่ 221 กก.ต่อไร่ เวียดนาม อยู่ที่ 260 กก.ต่อไร่ และมาเลเซียอยู่ที่ 248 กก. ต่อไร่ ขณะที่ผลผลิตปาล์มน้ำมันไทยเฉลี่ยที่ 2.9 ตันต่อไร่ มาเลเซีย 3.2 ตันต่อไร่ และอินโดนีเซีย 2.8-6.6 ตันต่อไร่ ส่วนผลผลิตข้าวไทยยังยืนไม่เปลี่ยนเฉลี่ยที่ 445 กก.ต่อไร่ ส่วนเวียดนามไปมากกว่า 1 ตัน หรือ 1,000 กก.ต่อไร่แล้ว”
รศ.ดร.อัทธ์ กล่าวอีกว่า ในการเลือกตั้งครั้งนี้ หลายพรรคการเมืองหาเสียงภาคเกษตรกรรม แต่ยังเป็นไปในรูปแบบเดิม ๆ คือและนำเงินไปรับซื้อสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นอันตรายและไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาระยะยาว ทั้งนี้ควรนำเงินที่จะไปแทรกแซงตลาด มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตจะดีกว่า ใครปรับตัว มีการให้รางวัล ใครไม่ปรับตัว ไม่มีรางวัล และต้องแพ้ภัยตัวเองไปในที่สุด
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ผ่ารายได้ 'ย่างให้' ธุรกิจแฟรนไชส์อาหารปิ้ง-ย่าง ที่แท้เจ้าของเป็นคนดังเปิดรายได้ 'ย่างให้' ธุรกิจแฟรนไชส์อาหารปิ้ง-ย่าง ที่แท้เจ้าของก็เป็นคนดังที่เคยให้สัมภาษณ์กับสื่อว่าขยายเปิดสาขาไปมากถึง 400 สาขาทั่วประเทศ
อ่านเพิ่มเติม »
ประวัติ 'ตงตง กฤษกร' หนุ่มหล่อ ขาว ตี๋ อดีตหวานใจ 'เบสท์ คำสิงห์'เปิดประวัติ-ผลงาน ตงตง กฤษกร หนุ่มหล่อ ขาว ตี๋ อดีตหวานใจ เบสท์ คำสิงห์ ลูกสาว สมรักษ์ คำสิงห์เรียกว่ากำลังถูกเป็นที่พูดถึงอย่างมาก ณ เวลานี้ สำหรับพระเอกหนุ่มหล่อ ตงตง กฤษกร กนกธร
อ่านเพิ่มเติม »
ประวัติ หลินฮุ่ย แพนด้าดังแห่งสวนสัตว์เชียงใหม่ข่าว หลินฮุ่ยกลับดาวหมี ไปแล้วเมื่อช่วงเช้าของวันนี้ (19 เม.ย. 66) ทำคนไทยหลายคนเศร้า เพราะผูกพันกับเจ้าแพนด้าตัวนี้มานานเหลือเกิน วันนี้ (19 เม.ย. 66) มีรายงาน
อ่านเพิ่มเติม »
AWC ดัน 'AEC FOOD WHOLESALE ประตูน้ำ' สู่ศูนย์กลางค้าส่งอาหารภูมิภาค พร้อมเปิดบริการมิ.ย.นี้ : อินโฟเควสท์นางวัลลภา ไตรโสรัส ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.แอสเสท เวิรด์ คอร์ป (AWC) เปิดเผยว่า บริษัทเดินหน้าปรับโฉมพันทิพย์ ประตูน้ำ เดิมสู่ AEC FOOD WHOLESALE ประตูน้ำ เพื่อเชื่อมเครือข่ายค้าส่ง (WHOLESALE ECO-SYSTEM) ตอบโจทย์อนาคตครบวงจร เสริมโอกาสธุรกิจแบบไร้ขีดจำกัด ด้วยการพัฒนาแพลตฟอร์มค้าส่งที่เชื่อมโยงออนไลน์-ออฟไลน์ (ONLINE-OFFLINE INTEGRATION) ช่วยเพิ่มศักยภาพให้กับผู้ซื้อและผู้ขายให้สามารถทำธุรกรรมระหว่างกันได้สะดวกยิ่งขึ้นตลอดกระบวนการตั้งแต่ การสรรหาสินค้า ไปจนถึงการจัดส่งและชำระค่าสินค้า AEC FOOD WHOLESALE ประตูน้ำ ตั้งอยู่ในทำเลเชิงยุทธศาสตร์ ใจกลางกรุงเทพฯ ด้วยพื้นที่กว่า 10 ไร่ โดยมีพื้นที่อาคารรวม (Gross Floor Area) กว่า 67,000 ตารางเมตร โดยศูนย์ค้าส่งนี้จะช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้ซื้อทั่ว AEC ให้สามารถเข้าถึงสินค้าจากผู้ประกอบการกลุ่มอาหารชั้นนำทั่วโลกกว่า 600 ราย ได้โดยตรง ด้วยราคาต้นทางและผลิตภัณฑ์หลากหลายประเภทที่มีคุณภาพและความน่าเชื่อถือตรงกับความต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น อาหารแช่แข็ง อาหารแช่เย็นและผลิตภัณฑ์จากนม เครื่องปรุงและวัตถุดิบ ข้าว เครื่องดื่ม […]
อ่านเพิ่มเติม »
ฟิทช์คาดตลาดข้าวโลกจ่อหดตัวมากที่สุดในรอบสองทศวรรษในปีนี้ : อินโฟเควสท์สำนักข่าวซีเอ็นบีซีรายงานว่า ตั้งแต่จีนไปจนถึงสหรัฐและสหภาพยุโรป (EU) การผลิตข้าวเริ่มลดน้อยลง ส่งผลให้ราคาข้าวสำหรับประชาชนกว่า 3.5 พันล้านคนทั่วโลกพุ่งทะยานขึ้น โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกซึ่งการบริโภคข้าวคิดเป็นสัดส่วน 90% ของโลก ทั้งนี้ นักวิเคราะห์ของฟิทช์ โซลูชั่นส์ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวซีเอ็นบีซีว่า ตลาดข้าวโลกมีแนวโน้มหดตัวลงมากที่สุดในรอบสองทศวรรษในปี 2566 และภาวะขาดแคลนข้าวครั้งใหญ่นี้จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มผู้นำเข้ารายใหญ่ “ผลกระทบที่ชัดเจนที่สุดในระดับโลกจากปัญหาขาดแคลนข้าวทั่วโลกนั้น ยังคงเป็นเรื่องของราคาที่เคลื่อนไหวสูงสุดในรอบทศวรรษ” นายชาร์ลส์ ฮาร์ต นักวิเคราะห์สินค้าโภคภัณฑ์ของฟิทช์ โซลูชั่นส์ระบุ รายงานวิจัยความเสี่ยงและอุตสาหกรรมรายประเทศจากฟิทช์ โซลูชั่นส์ลงวันที่ 4 เม.ย. ระบุว่า ราคาข้าวมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนไหวที่ระดับสูงเช่นปัจจุบันต่อไปจนกระทั่งปี 2567 ข้อมูลจากรายงานฉบับดังกล่าวระบุว่า ราคาข้าวเฉลี่ยอยู่ที่ 17.3 ดอลลาร์ต่อฮันเดรดเวท (CWT) ในปีนี้ และจะชะลอตัวลงแตะ 14.50 ดอลลาร์ต่อฮันเดรดเวท (CWT) ก็ต่อเมื่อเข้าสู่ปี 2567 โดยฮันเดรดเวท (CWT) เป็นหน่วยวัดสินค้าโภคภัณฑ์บางประเภท เช่น ข้าว ฟิทช์ โซลูชั่นส์คาดการณ์ว่า ทั่วโลกจะเผชิญภาวะขาดแคลนข้าว 8.7 ล้านตันในปี 2565/66 ซึ่งจะเป็นภาวะขาดแคลนข้าวทั่วโลกครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ปี 2546-2547 ซึ่งเวลานั้นทั่วโลกประสบปัญหาขาดแคลนข้าว […]
อ่านเพิ่มเติม »