กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) สรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศประจำวันว่า ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นได้ และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก
ปริมาณฝนตกใน 24 ชั่วโมงสูงสุดที่ผ่านมารายภาค มีฝนตกหนักถึงหนักมาก บริเวณ จ.พิษณุโลก จ.ตราด จ.มุกดาหาร จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.สงขลา จ.ลพบุรี กอนช. ประกาศเฝ้าระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก ฉบับที่ 17/2566 ในช่วงวันที่ 5-10 ก.ย. 66 บริเวณ ภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก แพร่ น่าน พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และกำแพงเพชร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.เลย ชัยภูมิ มุกดาหาร นครพนม และนครราชสีมา ภาคตะวันออก จ.ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี จันทบุรี และตราด ภาคกลาง จ.อุทัยธานี และกาญจนบุรี ภาคใต้ จ.
หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา นำกำลังพลพร้อมยานพาหนะเครื่องจักรกล รยบ.เทท้าย จำนวน 2 คัน และรถขุดตัก จำนวน 1 คัน ร่วมกับ อบต.หนองสูงใต้ หน่วยงานราชการ ประชาชนในพื้นที่ ดำเนินการขุดลอกวัชพืชที่กีดขวางทางน้ำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ำป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยในช่วงฤดูฝน และกักเก็บน้ำไว้ใช้สำหรับการเกษตรในช่วงหน้าแล้ง บริเวณห้วยลำแสด บ้านดอนกลาง ม.2 ต.หนองสูงใต้ อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร
กอนช. เร่งกักเก็บน้ำไหลเข้าเขื่อนจากฝนตกเพิ่มในช่วงนี้พร้อมส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรทดแทนการปลูกข้าวนาปีต่อเนื่อง ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ประชุมการประเมินสถานการณ์น้ำ กอนช.
ทั้งนี้ ที่ประชุมได้ร่วมกันกำหนดแนวทางการส่งเสริมอาชีพทดแทนในพื้นที่ควบคุมไม่ให้มีการเพาะปลูกข้าวนาปีต่อเนื่อง โดยจะมีการจัดทำเมนูอาชีพทางเลือกต่างๆ รวมทั้งแผนงาน โครงการ และงบประมาณ เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการควบคุมการเพาะปลูกเพื่อสงวนปริมาณน้ำไว้ให้เพียงพอสำหรับฤดูแล้งที่จะมาถึง ซึ่งจะยังคงอยู่ในสภาวะเอลนีโญอย่างต่อเนื่อง.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
นายกฯ นัดถก ครม. เร่งแก้ปัญหาภาคการเกษตร และผลกระทบเอลนีโญนายกฯ กำหนดประชุม ครม.นัดแรก 13 ก.ย.นี้ สั่งกระทรวงเกษตรฯ ทำการบ้าน เร่งแก้ปัญหาภาคการเกษตร และผลกระทบ “เอลนีโญ”
อ่านเพิ่มเติม »
'สทนช.' คาดน้ำกักเก็บเหลือร้อยละ 55 ออก 9 มาตรการ รับมือเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ 'สทนช.' ระบุ ผลพวงปรากฏการณ์ 'เอลนีโญ ' ฝนตกน้อยตั้งแต่ต้นปี จนถึงปัจจุบันต่ำกว่าค่าปกติ 21% หากไม่มีพายุพาดผ่าน จะมีปริมาณน้ำใช้การ แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เหลือร้อยละ 55 ของปริมาณกักเก็บ รุกออกมาตรการรองรับมือฤดูแล้ง 2566/67
อ่านเพิ่มเติม »
ฝนตกเพิ่มขึ้น กอนช.เร่งเก็บน้ำลงเขื่อน สั่งงดทำนาปีต่อเนื่องกอนช. เร่งกักเก็บน้ำที่ไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเพิ่มจากฝนตกในช่วงนี้ให้ได้มากที่สุด พร้อมสนับสนุนอาชีพทดแทนให้เกษตรกรในพื้นที่ควบคุมการเพาะปลูกข้าวนาปีต่อเนื่อง เพื่อสงวนน้ำไว้ใช้ให้พอในฤดูแล้งที่จะมาถึงท่ามกลางสภาวะเอลนีโญ
อ่านเพิ่มเติม »
อุตุฯ เตือนฝนถล่ม 50 จังหวัด พายุ 'ยุนยาง' เคลื่อนเข้าฝั่งตะวันออกญี่ปุ่นกรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นได้ และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก
อ่านเพิ่มเติม »
อุตุฯเตือนระมัดระวังสัญจรไปมาช่วงนี้ฝนฟ้าคะนอง กทม.มีฝน60%ของพื้นที่กรมอุตุนิยมวิทยารายงานพยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าประจำวันที่ 8 ก.ย.2566 ว่าประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นได้ และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ขอให้ประชาชนในบริเวณดังกล่าวระวังอันตรายจากฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่ม รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังในการสัญจรผ่านบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองในระยะนี้ไว้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากร่องมรสุมกำลังแรงพาดผ่านภาคเหนือตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวตังเกี๋ย ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใ
อ่านเพิ่มเติม »
อุตุฯเตือนเหนือ-อีสานยังอ่วมฝนตกหนัก80%ของพื้นที่ ภาคใต้เริ่มแผ่วเหลือ30-40%กรมอุตุนิยมวิทยารายงานพยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าประจำวันที่ 6 ก.ย.2566 ว่า ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นได้ และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขอให้ประชาชนในบริเวณดังกล่าวระวังอันตรายจากฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสมซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่ม รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังในการสัญจรผ่านบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองในระยะนี้ไว้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากร่องมรสุมกำลังแรงเลื่อนขึ้นไปพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวตังเกี๋ย ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
อ่านเพิ่มเติม »