บอร์ดกสทช.นั่งเก้าอี้ครบ 7 คนแล้ว จับตาลงมติโหวตวาระสำคัญเลือกเลขากสทช.-เทเลเฮลท์ วันที่ 29 มี.ค.นี้ คาดได้เห็นชัดใครอยู่ฝั่งไหน หลังที่ผ่านมาเจอพิษ Double Vote อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ครบ 7 คนดูจะเป็นที่น่าจับตามองไม่น้อยเกี่ยวกับการลงมติวาระ ในครั้งต่อๆไป รวมไปถึงการแบ่งก๊กแบ่งฝ่ายของบอร์ด
เห็นได้จากตัวประธานบอร์ดเองก็ออกมายืดอกให้สัมภาษณ์ตั้งแต่วันที่บอร์ดเข้ามาทำงานครบ 3 เดือนว่า บอร์ดทุกคนมีความคิดเห็นเป็นของตัวเอง ดังนั้น ไม่จำเป็นที่ทุกคนต้องคิดเหมือนกัน การควบรวมกิจการระหว่าง เข้าด้วยกัน ซึ่งการประชุมกสทช.ในวันที่ 20 ต.ค. 2565 ลากยาวเกิน 11 ชั่วโมง เพราะกสทช.ขณะนั้นมีอยู่ด้วยกัน 5 คน และมี 1 ในกสทช.ขอไม่ออกเสียง ทำให้มีเสียงเท่ากัน 2:2 เสียง แต่พลิกเป็น 3:2
ยังมีการลือกันอีกว่า บอร์ด กสทช. 6 คนที่ผ่านมา แบ่งออก 2 ฝ่ายชัดเจน แต่ละก๊กล้วนมาจากบ้านใหญ่ "สายตรง" ของบรรดาลุงด้วยกันทั้งคู่ ทำให้บอร์ดฝั่งหนึ่งต้องการลากวาระการพิจารณาที่ต้องมีการลงมติออกไป และรอจนกว่าบอร์ดคนที่ 7 จะเข้ามาทำงาน เพราะไม่อยากให้ประธานบอร์ดใช้อำนาจ Double Vote อีกต่อไป โดยตัวแปรสำคัญที่กำลังกล่าวถึงคือ รองศาสตราจารย์ สมภพ กสทช.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
บอร์ด กสทช.เห็นชอบร่างประกาศยกเลิก 'กฎมัสต์แฮฟ' เปิดรับฟังความเห็น 30 วันบอร์ด กสทช.เห็นชอบร่างประกาศยกเลิก กฎมัสต์แฮฟ เปิดรับฟังความเห็น 30 วัน
อ่านเพิ่มเติม »
'บอร์ด กสทช.' มติเห็นชอบร่างประกาศยกเลิก 'กฎมัสต์ แฮฟ' พร้อมเปิดรับฟังความคิดเห็น 30 วัน“บอร์ด กสทช.” มติเห็นชอบร่างประกาศยกเลิก “กฎมัสต์ แฮฟ” พร้อมเปิดรับฟังความคิดเห็น 30 วัน via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »
เลือกตั้ง66: 'ฐากร' กางแผนเศรษฐกิจดิจิทัล3โตพลิกฟื้นประเทศฐากร ตัณฑสิทธิ์ อดีตเลขาธิการ กสทช. ประธานคณะกรรมการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ พรรคไทยสร้างไทย เสนอแผนพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล3โต ดึงภาคประชาชน เอกชน ภาครัฐ พลิกฟื้นประเทศ เลือกตั้ง66 ไทยสร้างไทย เศรษฐกิจดิจิทัล Posttoday
อ่านเพิ่มเติม »
กสทช.เห็นชอบ (ร่าง) ประกาศยกเลิกกฎ Must have
อ่านเพิ่มเติม »
กสทช.เห็นชอบยกเลิก'กฎมัสต์แฮฟ'เตรียมเปิดรับฟังความเห็น30วันบอร์ดกสทช. มีมติเห็นชอบร่างประกาศยกเลิก 'กฎมัสต์แฮฟ' โดยเตรียมเปิดรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนทั่วไป 30 วัน
อ่านเพิ่มเติม »