กรุงไทย พร้อมให้บริการ “PromptBIZ” ผ่านดิจิทัลหนุนธุรกิจทำธุรกรรมการค้า ชำระเงินรูปแบบดิจิทัลครบวงจร เชื่อมโยงระบบภาษี ลดข้อผิดพลาด
เปิดเผยว่า ธนาคารกรุงไทย ร่วมกับธนาคารแห่งประเทศไทย สถาบันการเงิน พันธมิตร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบ PromptBIZ เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางการเงินและการชำระเงินกลางสำหรับภาคธุรกิจที่จะช่วยสนับสนุนการทำธุรกรรมการค้าและการชำระเงินในรูปแบบดิจิทัลที่สามารถข้ามธนาคารได้อย่างครบวงจร
สำหรับระบบ PromptBIZ จะเป็น The Game Changer ของภาคธุรกิจ สนับสนุนการทำธุรกรรมการค้าด้วยระบบดิจิทัลแบบครบวงจร โดยเชื่อมโยงข้อมูลการค้าและการชำระเงิน ตั้งแต่ข้อมูลใบแจ้งหนี้ ไปสู่การวางบิล การชำระเงินจนถึงการออกใบเสร็จ ที่มีความปลอดภัยสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ซึ่งมีบริการ Digital Trade and Payment เป็นบริการส่งและรับเอกสารทางการค้าในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น e-Invoice และ e-Receipt
และมีการป้องกันการใช้ข้อมูลมาขอสินเชื่อซ้ำ เพื่อนำมาประกอบการขอสินเชื่อประเภทInvoice Factoring/Financing ได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสการเข้าถึงสินเชื่อได้มากขึ้น และสะดวกรวดเร็วขึ้น ถือเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้ก้าวทันโลกดิจิทัลที่ไม่หยุดนิ่ง และเพิ่มศักยภาพการแข่งขันภาคธุรกิจไทย ทั้งนี้ สามารถจัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ ครอบคลุมไปถึงการทำรายการหักและนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายอัตโนมัติ โดยไม่ต้องออก 50 ทวิให้กับคู่ค้า ซึ่งเปิดให้บริการวางบิลและรับวางบิลสำหรับคู่ค้าภายในธนาคารและข้ามธนาคาร นอกจากนี้คู่ค้าธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SME ใน Ecosystem ยังสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้สะดวกด้วยบริการสินเชื่อใบแจ้งหนี้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
แบงค์ชาติเปิดตัว PromptBiz ระบบชำระเงินสำหรับธุรกิจลดการใช้กระดาษ, มีเงินช่วยให้ SMEธนาคารแห่งประเทศไทยเปิดตัวบริการ PromptBiz บริการชำระเงินสำหรับภาคธุรกิจ ที่ทำให้สามารถดำเนินธุรกิจโดยไม่ต้องมีกระดาษได้ ตั้งแต่การวางใบแจ้ง
อ่านเพิ่มเติม »
แบงค์ชาติเปิดตัว PromptBiz ระบบชำระเงินสำหรับธุรกิจลดการใช้กระดาษ, มีเงินช่วยให้ SMEธนาคารแห่งประเทศไทยเปิดตัวบริการ PromptBiz บริการชำระเงินสำหรับภาคธุรกิจ ที่ทำให้สามารถดำเนินธุรกิจโดยไม่ต้องมีกระดาษได้ ตั้งแต่การวางใบแจ้ง
อ่านเพิ่มเติม »
ไบแนนซ์ วิเคราะห์ การมาของ AI จะยกระดับอุตสาหกรรม Blockchainไบแนนซ์ ชี้ AI จะช่วยยกระดับอุตสาหกรรม Blockchain จากการผสานจุดเด่น เพิ่มประสิทธิภาพระบบ ลดข้อผิดพลาด ช่วยให้นักพัฒนาให้ความสำคัญกับการออกแบบเชิงแนวคิดอย่างเต็มที่ ส่วน AI จะมาช่วยในการดำเนินการด้านโปรแกรมแทน อ่านเพิ่มเติม :
อ่านเพิ่มเติม »
ปลุกเร้า แข้งสาวU19 ลดข้อผิดพลาด เพื่อเป็นเจ้าอาเซียนอีกก้าวเดียว! ยุทธนา หยิมการุณ อุปนายกสมาคมลูกหนังไทย ปลุกเร้าแข้ง 'ชบาแก้ว U19' ต้องพยายามลดข้อผิดพลาด เพื่อที่จะก้าวไปเป็นแชมป์อาเซียน ตามเป้าหมายที่วางไว้
อ่านเพิ่มเติม »
สรรพากร เล็งหารือ ไมโครซอฟท์ ดึง Chat GPT บริการตอบคำถามภาษี ลดข้อผิดพลาดสรรพากร เตรียมหารือไมโครซอฟท์ ผู้ลงทุนผลิตแอป Chat GPT สร้างถังข้อมูลดิจิทัล ตอบคำถามด้านภาษีให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ชี้ปีนี้เปิดบริการ Service Provider นำส่งใบกำกับภาษี และ เก็บใบกำกับภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
อ่านเพิ่มเติม »
KTAM ยันกองทุนทยอยขายหุ้น STARK ออกเกือบทั้งหมดตั้งแต่ปลายปี 65 : อินโฟเควสท์นางชวินดาหาญรัตนกูลกรรมการผู้จัดการบลจ.กรุงไทย (KTAM) ชี้แจงว่า เดิม บลจ.กรุงไทย ได้ซื้อหุ้นเพิ่มทุน บมจ.สตาร์ค คอร์เปอเรชั่น (STARK) ที่มีความประสงค์ไปลงทุนในต่างประเทศ แต่ภายหลังจาก STARK ได้เปลี่ยนความตั้งใจที่จะไม่ลงทุนในต่างประเทศ ดังนั้น เมื่อบลจ.กรุงไทย ได้รับทราบข่าวและเห็นว่าบริษัทไม่ทำตามวัตถุประสงค์เดิมที่จะนำเงินไปลงทุนในต่างประเทศ จึงทำให้ บลจ.กรุงไทย ตัดสินใจทยอยขายหุ้น STARK เกือบทั้งหมดภายในปี 65 ซึ่งไม่ส่งผลต่อการลงทุนของนักลงทุนแต่อย่างใด โดยปัจจุบัน บลจ.กรุงไทย ถือครองเพียงใบสำคัญแสดงสิทธิ (Warrant) ของ STARK ซึ่งเป็นสัดส่วนถือครองที่ไม่มีนัยสำคัญ (เป็นการได้มาตามสิทธิในอดีตโดยไม่มีต้นทุน) บลจ.กรุงไทย ขอยืนยันว่าการบริหารพอร์ตการลงทุนคำนึงถึงความเสี่ยงทั้งในด้านการกระจายการลงทุน ความผันผวนของราคา และปริมาณการซื้อขายของหุ้นแต่ละตัวในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่สอดคล้องกับผลตอบแทนที่คาดไว้ ตลอดทั้งยังมีการติดตามข่าวสารและผลการดำเนินการของบริษัทที่ลงทุนเป็นประจำ โดยยึดผลประโยชน์ของนักลงทุนเป็นหลัก พร้อมทั้งยืนยันว่าไม่ว่าสถานการณ์จะเป็นเช่นไร บลจ.จะยังคงมุ่งมั่นที่จะรักษาผลประโยชน์ และคัดสรรสิ่งที่ดีโดยคำนึงถึงนักลงทุนอยู่เสมอ STARK แจ้งข่าวต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่ามีความจำเป็นต้องนำส่งงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 ล่าช้ากว่ากำหนด จนเป็นเหตุให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขึ้นเครื่องหมาย SP (การห้ามซื้อขายหลักทรัพย์เป็นการชั่วคราว) จนทำให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง โดยเมื่อวันที่ 1 มิ.ย.ที่ผ่านมา […]
อ่านเพิ่มเติม »